Page 304 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 304

290



                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                          5.1 การชะลางพังทลายของหนาดิน  ในพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นต ขึ้นไป จะมีการ

                  ชะลางพังทลายของดินระดับรุนแรงปานกลาง

                          5.2 ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา  มีสาเหตุ 2 ประการ คือ 1) มีการชะลางพังทลายของดิน และ 2)

                  การใชดินเพาะปลูกพืชอยางตอเนื่อง โดยไมมีการปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน


                          5.3 ขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก  เนื่องจากไมมีระบบชลประทานเขาถึง และแหลงน้ําธรรมชาติ

                  มีจํากัด ดังนั้นในฤดูแลงจึงขาดน้ําสําหรับการเพาะปลูก

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1  การอนุรักษดินและน้ํา  เพื่อปองกันการชะลางพังทลายของดิน ควรอนุรักษดินและน้ําดวยวิธี

                  กลผสมผสานกับวิธีทางพืช โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาดเทตั้งแต 5 เปอรเซ็นตขึ้นไป สําหรับวิธีกล ไดแก

                  การทําคันดิน  ขุดทางระบายน้ํา บอดักตะกอน หรือบอน้ําประจําไรนา  เพื่อชวยชะลอการไหลบาของน้ําผิว

                  ดินและเก็บกักน้ําสวนเกิน ไวใชประโยชนในไรนาในชวงฤดูแลงและระยะฝนทิ้งชวง สวนวิธีการทางพืช

                  ไดแก การปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับแถวพืชหลักตามแนว
                  ระดับ  ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือปลูกแบบเหลื่อมฤดู ปลูกพืชคลุมดินในสวนไมผลหรือไมยืนตน ปลูกพืช

                  หมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วอยูในระบบการหมุนเวียนกับพืชหลัก  ซึ่งระบบการปลูกพืชดังกลาวลวนเปน

                  แนวทางในการอนุรักษดินและน้ํา

                          6.2  การพัฒนาแหลงน้ํา  บริเวณที่พบกลุมชุดดินที่ 36  สวนใหญไมมีระบบชลประทานเขาถึง  จึง

                  จําเปนตองพัฒนาแหลงน้ํา  โดยการขุดสระน้ําหรือขุดลอกแหลงน้ําที่ตื้นเขิน นอกจากการพัฒนาแหลงน้ํา

                  แลวยังตองมีมาตรการรักษาความชื้นในดินดวย เชน  ใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืช หรือปลูกพืชคลุมดิน

                  ระหวางแถวไมผลหรือไมยืนตน เพื่ออนุรักษความชื้นในดินไวใหเกิดประโยชนสูงสุดกับพืชหลัก

                          6.3 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน

                         6.3.1 ปลูกพืชบํารุงดิน โดยวิธีการตอไปนี้ คือ ปลูกพืชตระกูลถั่วสลับกับพืชหลัก ปลูกพืชปุยสดแลว

                  ไถกลบลงดิน หรือปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวางแถวพืชหลัก


                         6.3.2  ใสปุยอินทรีย  เชน ปุยคอกหรือปุยหมัก เนื่องจากปุยอินทรียใหประโยชนหลายดาน คือ เมื่อ

                  อินทรียสารในปุยสลายตัว จะปลดปลอยธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรองและจุลธาตุอยางชาๆ นอกจากนั้น
                  ยังชวยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดินอีกดวย


                         6.3.3 ใสปุยเคมี เพื่อเสริมธาตุอาหารบางธาตุที่ดินมีนอย ไมเพียงพอตอความตองการของพืช ทั้งนี้
                  เนื่องจากความอุดมสมบูรณของดินอยูในระดับปานกลางเทานั้น สําหรับสูตร อัตรา และวิธีการใชปุยเคมี

                  ขึ้นอยูกับชนิดของพืช ซึ่งไดกลาวไวในหัวขอที่ 9
   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309