Page 301 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 301

287



                         ดินบนลึกไมเกิน 30 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือรวนเหนียว สีน้ําตาลเขมปนแดง

                  หรือสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงดางปานกลาง(pH 6.5-8.0) สวนดินลางมีเนื้อดินเปน
                  ดินรวนเหนียวถึงดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)


                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 36.5


                  ตารางที่ 36.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                            CEC         BS          OM        Avai.P   Exch.K     ระดับความ
                     ชุดดิน      pH
                                          cmol /kg       (%)       (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                   ปราณบุรี      5.97       5.20       62.00       1.72      4.90      155.00     ปานกลาง
                   เพชรบูรณ      -         9.05       45.07       3.81      12.18      90.43     ปานกลาง
                   ศรีราชา        -         3.70       66.00       3.00      3.30      213.00     ปานกลาง

                   สีคิ้ว         -         11.13      71.33       1.72      53.00      52.00     ปานกลาง
                   คามัธยฐาน    5.97       7.13       64.00       2.36      8.54      122.72     ปานกลาง


                  สรุป :  จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินเพชรบูรณ ปราณบุรี สีคิ้ว และศรีราชา  ซึ่งจัดอยูใน

                        กลุมชุดดินที่ 36 พบวามีความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลางทั้งสิ้น


                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชโดยทั่วไป

                         กลุมชุดดินที่ 36  มีศักยภาพเหมาะสมสําหรับปลูกพืชไร ไมผล ไมยืนตน และผักบางชนิด  แตไม

                  เหมาะกับการทํานา เนื่องจากสภาพพื้นที่ไมอํานวย เพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกใชอยางเหมาะสมกับ
                  ศักยภาพของที่ดิน จึงจัดชั้นความเหมาะสมตามสภาพความลาดเท ดังตารางที่ 36.6


                  ตารางที่ 36.6 ชั้นความเหมาะสมของกลุมชุดดินที่ 36 ที่ปลูกในฤดูกาลตางๆ กัน และปลูกในเขตชลประทาน

                         ชนิดพืช           ปลูกฤดูฝน         ปลูกฤดูแลง      ชลประทาน         หมายเหตุ

                   ขาว
                     ขาวนา                  S2o              S3mo              S2o

                     ขาวไร                 S1               S2m               S1
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306