Page 249 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 249

235



                          7.2 พื้นที่ปลูกพืชไร ไมผลหรือพืชผัก ควรเปนพื้นที่ซึ่งอยูสูงกวานาขาว เพื่อหลีกเลี่ยงมิใหน้ําทวม

                  ขัง ในฤดูฝน หากพื้นที่สวนนี้อยูติดกับแหลงน้ําธรรมชาติ อาจใชปลูกพืชไรและพืชผักในฤดูแลงไดดวย

                          7.3 พื้นที่เพื่อการพัฒนาแหลงน้ํา  ควรเปนพื้นที่ต่ําสุดเพื่อใหเก็บกักน้ําไดดี เนื่องจากระดับน้ําใต

                  ดินในฤดูฝนจะอยูคอนขางตื้น โดยทั่วไปมีความลึกไมเกิน 1.5  เมตร ทั้งนี้ยกเวนชุดดินน้ําคลุกและชุดดิน

                  กําแพงเพชร สวนในฤดูแลงระดับน้ําใตดินอยูลึกไมเกิน 3  เมตร  สําหรับขนาดของแหลงน้ําที่จะพัฒนานั้น

                                                    3
                  ควรมีความจุประมาณ1,200-1,500  ม.   ใหมีจํานวนเพียงพอกับปริมาณความตองการน้ําสําหรับกิจกรรม
                  ตางๆ เพื่อใหพื้นที่แหลงน้ําเกิดประโยชนสูงสุด จึงควรเลี้ยงปลาและใชบริเวณคันดินขอบบอสําหรับปลูกไม

                  ผล เชน มะมวง ขนุน ฝรั่งและกลวย ตลอดจนไมดอก ไมประดับตางๆ ดวย

                         สําหรับอัตราสวนการใชที่ดินประเภทตาง  ที่กลาวมานี้  ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่ ทักษะของเกษตรกร

                  และความตองการผลผลิตของตลาดทั้งในและนอกทองถิ่น

                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ


                          8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         8.1.1 ปญหาการระบายน้ําของดินเลว

                         ในกรณีปลูกพืชไรในชวงฤดูแลงหรือหลังการเก็บเกี่ยวขาวควรดําเนินการดังนี้ คือ ทํารองระบายน้ํา

                  รอบกระทงนาและทํารองระบายในกระทงนาในกรณีที่กระทงนาใหญ ซึ่งหางกันประมาณ 15-20 เมตรและ

                  รองมีความกวาง 40-50 ซม. ลึกประมาณ 20-30 ซม. ซึ่งรองที่กลาวนี้จะชวยระบายน้ําผิวดินและสะดวกใน
                  การใหน้ําและเขาไปดูแลพืชที่ปลูก


                         8.1.2 ดินคอนขางไมรวนซุย

                         ใสปุยอินทรียตางๆ เชน ปุยหมัก หรือปุยคอกในอัตรา 1-2 ตัน/ไร หวานใหทั่วแปลงแลวพรวนกลบ

                  กอนการปลูกพืช หรือการใสปุยพืชสดพรวนคลุกเขากับดินกอนปลูกพืชนานพอสมควร  ชนิดของพืชที่เหมาะ

                  ตอการใชทําปุยพืชสด คือ พืชตระกูลถั่วที่ปลูกในพื้นที่นั้นแลวพรวนกลบเมื่อออกดอกแลวประมาณ 50
                  เปอรเซ็นต เศษเหลือออยในแปลงหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งมีปริมาณมากสามารถไถพรวนลงไปในดินเพื่อ

                  ปรับปรุงความรวนซุยไดเปนอยางดี หรือใช กากตะกอนหมอกรอง (filter  cake)  จากโรงงานน้ําตาลซึ่งเปน

                  วัสดุเหลือทิ้งที่เหมาะนํามาใชไดเชนกัน เพราะแตละฤดูการหีบออย กากตะกอนดังกลาวจะมีอยูเปนจํานวน

                  มากคางในโรงงานหีบออย

                         8.1.3 ปญหาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอยาง

                         ใชปุยเคมีซึ่งสูตรและอัตราที่ใชจะพิจารณาตามผลวิเคราะหดินที่แสดงไวในตารางที่ 33.5 เปน

                  สําคัญ และตองสอดคลองกับชนิดพืชที่ปลูกดวย
   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253   254