Page 251 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 251

237



                  9. การใชปุยสําหรับพืชชนิดตางๆ

                          9.1 การใชปุยสําหรับขาว

                         ดินในกลุมชุดดินที่ 33 มีอินทรียวัตถุระดับปานกลาง ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนปานกลาง

                  โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนไดปานกลาง  ดังนั้นเพื่อใหขาวไดรับธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
                  อยางเพียงพอ จึงควรใชปุยเคมีอยางเหมาะสม ซึ่งมีอยู 2 แนวทาง คือ 1) ใชแมปุย โดยเลือกชนิดของแมปุย

                  และอัตราของแมปุยนั้น จากบทนําในตารางที่ ก 15-16 สําหรับขาวไมไวตอชวงแสง และ ก 17-18 สําหรับ

                  ขาวไวตอชวงแสง หรือ 2) ใชปุยนาซึ่งมีจําหนายทั่วไป สําหรับแนวทางที่ 2 นั้น สูตรปุยและอัตราปุยเคมีที่

                  ควรใชมีดังนี้
                         ก) ขาวไมไวตอชวงแสง อัตราธาตุอาหารที่ควรใส คือ 12 กก.N/ไร 3 กก.P O /ไร และ 3 กก.K O/ไร
                                                                                       2 5
                                                                                                        2
                  คิดเปนน้ําหนักปุยแลวแบงใส 3 ครั้งดังนี้

                         ครั้งที่ 1 สําหรับนาดําใสในชวงปกดํา แตถาเปนนาหวานใสหลังขาวงอก 15-20 วัน โดยใชปุยสูตร

                  16-20-0 หรือปุยสูตรใกลเคียง อัตรา 15 กก./ไร ปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 4 กก./ไร และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 5
                  กก./ไร

                         ครั้งที่ 2 ใสในระยะที่ขาวแตกกอ หรือ 30 วันหลังการใสปุยครั้งแรก คือ ปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 9

                  กก./ไร

                         ครั้งที่ 3 ใสในระยะที่ขาวกําเนิดชอดอก คือ ปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 9 กก./ไร

                         ข) ขาวไวตอชวงแสง อัตราธาตุอาหารที่ควรใส คือ 6 กก.N/ไร 3 กก.P O /ไร และ 3 กก.K O/ไร คิด
                                                                                    2 5
                                                                                                     2
                  เปนน้ําหนักปุยแลวแบงใส 2 ครั้งดังนี้
                         ครั้งที่ 1 สําหรับนาดําใสในชวงปกดํา แตถาเปนนาหวานใสหลังขาวงอก 15-20 วัน โดยใชปุยสูตร

                  16-20-0 หรือปุยสูตรใกลเคียง อัตรา 15 กก./ไร ปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2 กก./ไร และปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 5

                  กก./ไร
                         ครั้งที่ 2 ใสในระยะที่ขาวกําเนิดชอดอก คือ ปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 6 กก./ไร


                          9.2 การใชปุยสําหรับพืชไร

                         ใชปุยเคมีเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณของดิน และเพิ่มผลผลิตพืชไรที่ปลูก  สําหรับสูตร อัตราการ

                  ใชและวิธีการใสปุย พอกลาวสรุปตามผลการวิเคราะหดินที่แสดงไวในตารางที่ 33.5 เปนดังนี้

                         9.2.1  ถั่วเหลือง ถั่วเขียว  ถั่วลิสง  การใสปุยจะทําเพียงครั้งเดียว โดยการโรยขางแถวปลูกแลว

                  พรวนกลบหลังปลูกแลวนาน 1-3 สัปดาห สําหรับพื้นที่ที่ไมเคยปลูกถั่วดังกลาวมากอน หรือเคยปลูกแตนาน

                  มาแลว จะตองคลุกเมล็ดถั่วดวยเชื้อไรโซเบียมที่เหมาะสมพรอมปลูกดวย

                         ก) ชุดดินกําแพงเพชร ใชปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 25 กก./ไร

                         ข) ชุดดินน้ําดุก ใชปุยสูตร 16-20-0 อัตรา 30 กก./ไร รวมกับปุยสูตร 0-0-22 อัตรา 5 กก./ไร
   246   247   248   249   250   251   252   253   254   255   256