Page 245 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 245

231



                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน

                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avail.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่ง

                  ไดจากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับ
                  ความลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป

                  1973 (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งผลของ

                  การประเมินสรุปไดดังตารางที่ 33.5

                  ตารางที่ 33.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน


                                            CEC          BS          OM        Avai.P   Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                           cmol /kg       (%)      (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                               c
                   กําแพงเพชร      -        10.23       78.60      2.00       8.10      36.67        ต่ํา
                   กําแพงแสน     7.35       13.13       87.74      1.62      110.44    236.10     ปานกลาง
                   ดงยางเอน        -        15.30       49.00      1.72      14.30     106.00        สูง

                   ตะพานหิน        -        13.43       71.70      2.03      27.30      68.00     ปานกลาง
                   ธาตุพนม       7.47       26.74       62.00      2.03      13.89      87.35     ปานกลาง

                   น้ําดุก         -        12.97       58.00      1.59       3.83      88.00     ปานกลาง
                   ลําสนธิ       6.71       14.71       43.06      1.34       2.89     111.70     ปานกลาง

                   คามัธยฐาน    7.35       13.43       62.00      1.72      13.89      88.00     ปานกลาง


                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของชุดดินตางๆ ที่จัดอยูในกลุมชุดดินที่ 33 พบวาสวนใหญมี
                        ความอุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง ยกเวนชุดดินกําแพงเพชรมีความอุดมสมบูรณอยูในระดับ

                        ต่ํา และชุดดินดงยางเอนมีความอุดมสมบูรณอยูในระดับสูง

                  4. การประเมินความเหมาะสม


                         กลุมชุดดินที่ 33  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิด เชน พืชไร พืชผัก ไมผล และขาว

                  ซึ่งในสภาพปจจุบันเกษตรกรก็ไดใชประโยชนในลักษณะดังกลาวอยูแลว  อยางไรก็ตามเกษตรกรอาจ

                  พิจารณาขอจํากัดตางๆ ในแตละพื้นที่ แลวเลือกใชประโยชนที่ดินใหเหมาะสมกับศักยภาพอยางแทจริง จึง
                  จัดชั้นความเหมาะสมของดินเปน 3 แบบ คือ สําหรับการปลูกพืชในฤดูฝน ฤดูแลง  และในเขตที่มีการ

                  ชลประทาน หรือมีการปรับปรุงแกไขขอจํากัดตางๆ แลว ดังตารางที่ 33.6
   240   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250