Page 248 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 248

234



                  5. ปญหาและขอจํากัดในการปลูกพืช

                         กลุมชุดดินที่ 33   ไมคอยมีปญหาหรือขอจํากัดในการปลูกพืชมากนัก แตถาใชพื้นที่เพื่อการ

                  เพาะปลูกติดตอกันนานๆ โดยขาดการบํารุงที่ถูกตอง จะทําใหความอุดมสมบูรณของดินลดลง เปนเหตุให

                  พืชขาดธาตุอาหารบางธาตุ อยางไรก็ตามในบางพื้นที่อาจมีขอจํากัด คือ ขาดแคลนน้ําสําหรับการเพาะปลูก

                  ในฤดูแลง

                  6. การจัดการเพื่อใหเหมาะสมในการปลูกพืช

                          6.1 พัฒนาแหลงน้ํา  เนื่องจากในบางพื้นที่ไมมีระบบชลประทาน จําเปนตองพัฒนาแหลงน้ําโดยการขุด

                  สระน้ําประจําไรนา หรือขุดลอกแหลงน้ําเกาที่ตื้นเขิน  เพื่อใชสําหรับการปลูกพืชในระยะฝนทิ้งชวงและฤดู

                  แลง

                          6.2 เพิ่มความสามารถในการอุมน้ําของดินและลดการสูญเสียความชื้นจากผิวดิน  โดยปฏิบัติ

                  ดังนี้ คือ 1) ใสปุยคอกหรือปุยหมักเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน อันจะมีผลใหความชื้นที่เปนประโยชนก็สูงขึ้น

                  ดวย และ 2) ลดการระเหยของน้ําจากผิวดินโดยใชวัสดุคลุมดินระหวางแถวพืช โดยเฉพาะอยางยิ่งในฤดู

                  แลง

                          6.3 การปรับปรุงความอุดมสมบูรณของดิน ซึ่งทําไดหลายวิธี ดังนี้


                         6.3.1 ปลูกพืชบํารุงดิน เชน 1) ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีพืชตระกูลถั่วสลับกับการปลูกพืชหลัก 2) ปลูก
                  พืชปุยสดแลวไถกลบลงดิน หรือ 3) ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมระหวางแถวพืชหลัก


                         6.3.2 ใสปุยคอกหรือปุยหมัก อัตราระหวาง 1.0-1.5 ตัน/ไร เพื่อเพิ่มธาตุอาหารและปรับปรุงสมบัติ

                  ทางกายภาพของดิน เชน ความรวนซุยมากขึ้น การถายเทอากาศและความสามารถในการอุมน้ําดีขึ้นดวย

                         6.3.3 ใสปุยเคมี ในกรณีที่ใชปุยอินทรียแลว ยังพบวาดินขาดแคลนบางธาตุ จึงจําเปนตองเสริมดวย

                  ปุยเคมี สําหรับสูตร อัตรา และวิธีการใชปุยเคมีที่เหมาะสมกับแตละพืช ซึ่งไดกลาวไวในหัวขอที่ 9

                  7. ขอเสนอแนะ


                         แมวากลุมชุดดินที่ 33  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชหลายชนิดทั้งพืชไร พืชผักไมผล และใช

                  ทํานาไดในบางสวน แตการใชประโยชนกลุมชุดดินนี้จะไดรับผลตอบแทนสูงและลดความเสี่ยงในการลงทุน

                  ควรใชที่ดิน “แบบไรนาสวนผสม” โดยแบงพื้นที่การใชประโยชนออกเปนสวนๆ ดังนี้

                          7.1  พื้นที่ทํานา  ควรเปนบริเวณต่ําสุดเพราะเมื่อทําคันนาจะเก็บกักน้ําไดดีและใชปลูกขาวไดในฤดูฝน

                  พื้นที่สวนนี้ยังสามารถปรับปรุงเพื่อใชปลูกพืชไรและพืชผักตางๆ ไดดวย หากมีแหลงน้ําธรรมชาติในบริเวณ
                  ใกลเคียง หรือมีแหลงน้ําที่เกษตรกรพัฒนาขึ้นมา
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253