Page 198 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 198

184



                  ถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5)  สวนดินชั้นลางปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)  ความ

                  อุดมสมบูรณอยูในระดับปานกลาง การระบายน้ําดี

                          3.2 ลักษณะของชุดดินในกลุมชุดดินที่ 30

                         3.2.1 ชุดดินเชียงแสน (Chiang saen series: Ce)

                         จัดอยูใน very fine, kaolinitic, nonacid,  isohyperthermic Typic Kandiustox  เกิดจากการ

                  สลายตัวผุพังของหินแกรนิตเนื้อละเอียดและหินไนสเปนสวนใหญ พบบริเวณที่เหลือคางจากการกัดกรอน

                  สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 3-16 เปอรเซ็นต มีการ
                  ระบายน้ําดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง มีการไหลบาของน้ําบนผิวดินปานกลางถึงเร็ว

                         ดินบนลึกไมเกิน 20 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือน้ําตาลเขมปน

                  แดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-6.5) สวนดินชั้นลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียวสี

                  แดงปนเหลืองหรือแดงปนเหลือง บางแหงจะพบหินเหล็ก(ironstone) ปรากฎขึ้นที่ผิวดินหรือปะปนอยูในเนื้อ

                  ดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-5.5)

                         3.2.2 ชุดดินดอยปุย (Doi Pui series: Dp)
                         จัดอยูใน fine, kaolinitic, isohyperthermic Typic (Kandic) Paleustults เกิดจากการสลายตัว

                  ของหินไนสและหินไนสิกแกรนิต สภาพพื้นที่ที่พบมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนชันถึงเปนภูเขาสูงชัน มีความ

                  ลาดชัน 3-85 เปอรเซ็นต มีการระบายน้ําดี ดินมีความสามารถใหน้ําซึมผานไดปานกลาง มีการไหลบาของ

                  น้ําบนผิวดินไดปานกลางถึงเร็ว

                         ดินบนลึกไมเกิน 15 ซม. มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขม
                  หรือน้ําตาลเขมปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงกรดปานกลาง(pH 6.0-7.0)  สวนดินชั้นลาง มีเนื้อดินเปน

                  ดินรวนเหนียวหรือดินเหนียว สีน้ําตาลแดงหรือแดงเขม บางพื้นที่พบเศษหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดปะปนอยู

                  กับเนื้อดิน ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดจัดมาก(pH 5.0-6.0)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน


                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ
                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ

                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973
                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 30.5
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203