Page 193 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 193

179



                         ฉ) ชุดดินเชียงของ และโชคชัย ใชปุยสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กก./ไร  และปุยสูตร 21-0-0 อัตรา 15

                  กก./ไร

                          9.2 การใชปุยสําหรับพืชผัก

                         9.2.1 กะหล่ําปลี  หลังยายปลูกประมาณ 15 วัน ใหปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กก./ไร โดยหยอด

                  ขางตน และหลังยายปลูกประมาณ 30 วัน ใชปุยสูตร 16-16-8 อัตรา 40 กก./ไร รวมกับ ปุยคอก อัตรา 1กํามือ/ตน

                  โดยพรวนดินรอบๆ โคนตนแลวใสปุย จากนั้นกลบดินวันรุงขึ้นจึงรดน้ํา นอกจากนี้การใสปุยแตละครั้งควร

                  ผสมธาตุอาหารเสริม เชน โบรอน สังกะสี

                         9.2.2 พริก  รองพื้นดวยปุยสูตร 16-20-0 อัตรา 40 กก./ไร และหลังจากยายปลูกได 10-14 วัน ควร

                  ใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 10 กก./ไร โรยขางแถวแลวพรวนดินกลบ


                         9.2.3 มะเขือเทศ  กอนปลูกควรปรับปรุงดินดวยปุยคอก และปุยสูตร 16-20-0 อัตรา 2,000-

                  4,000 และ80 กก./ไรตามลําดับ และหลังจากปลูกไปแลว 30 วัน ใชปุยสูตร 15-5-20 อัตรา 80 กก./ไร โดย
                  ใสปุยทั้งสองขางแถวแลวพรวนดินกลบ


                          9.3 การใชปุยสําหรับไมผล และไมยืนตน

                         9.3.1 ปาลมน้ํามัน  การใหปุยปาลมน้ํามันสําหรับกลุมชุดดินที่ 29 แนะนําใหใสปุยยูเรีย 3 กก./ตน

                  รวมกับปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 1 กก./ตน, ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 2.8 กก./ตน, คีเซอรไรด 700
                  กรัม./ตน, และโบเรต 60 กรัม/ตน โดยแบงใสยูเรีย, โพแทสเซียมคลอไรด และคีเซอรไรด ใสสองครั้งๆ ละ

                  เทาๆ กัน ในชวงตน และปลายฤดูฝน สวนไดแอมโมเนียมฟอสเฟต และโบเรต ใสครั้งเดียวชวงตนฤดูฝน


                         9.3.2 มะมวง  กอนปลูกควรรองกนหลุมดวยปุยคอกที่ยอยสลายดีแลวรวมดวยปุยหินฟอสเฟต

                  และปุยสูตร 16-16-8 ในอัตรา 5-10, 0.5 และ 0.2 กก./ตนตามลําดับ เมื่อมะมวงอายุ1-2 ป ใชปุยสูตร
                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และเมื่อมะมวงอายุ 3 ปขึ้นไปเปนชวงที่ใหผลผลิตแลวจึงแบงระยะการใหปุย

                  เปน 4 ระยะ คือ 1) ระยะบํารุงตนหลังเก็บเกี่ยวใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน ปุยในระยะนี้ควรใหซ้ํา

                  เมื่อมะมวงแตกใบออนชุดที่ 2 แลว 2) ระยะเรงสรางตาดอก ใชปุยสูตร 12-24-12 อัตรา 1 กก./ตน สําหรับ

                  มะมวงอายุ 2-4 ป, 2 กก./ตน สําหรับมะมวงอายุ 5-7 ป และ 5 กก./ตน สําหรับมะมวงอายุ 8 ปขึ้นไป

                  ตามลําดับ 3) ระยะบํารุงผล ใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และ 4) ระยะปรับปรุงคุณภาพผลผลิตใช
                  ปุยสูตร 13-13-21 อัตรา 1 กก./ตน รวมดวยการพนปุยทางใบในอัตราตามที่ฉลากระบุไว


                         9.3.3 ลําไย  1) ลําไยอายุ 1-3 ป (หลังแตกใบออนชุดที่ 1) ใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0
                  ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน 2) ลําไยอายุ 4 ป ในชวงตนเดือนสิงหาคมใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร

                  46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน รวมกับใชปุยสูตร 0-52-34 อัตรา 0.20 กก./ตน/น้ํา 20 ลิตร ในชวง

                  เดือนพฤศจิกายนโดยพนปุยทุกๆ 7 วัน ประมาณ 3 ครั้งเพื่อไมใหลําไยแตกใบใหม 3) ลําไยอายุ 5 ปขึ้นไป
   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198