Page 194 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 194

180



                  เปนชวงที่ลําไยใหผลผลิตแลว ทําการกระตุนการแตกใบออนชุดที่ 1และ2 (ประมาณเดือนกันยายน) ควรใช

                  ปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน จากนั้นชวงกลางเดือนตุลาคมเปนชวง
                  ที่ใหลําไยพักตัวเพื่อพรอมตอการออกดอกควรใชปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 2 กก./ตน 4) ระยะลําไยติดผลควร

                  บํารุงผลใหเจริญเติบโตดวยปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน 5) กอน

                  เก็บเกี่ยวผลผลผลิต 1 เดือน สามารถเพิ่มผลผลิตดวยการใชปุยสูตร 0-0-60 อัตรา 1 กก./ตน และ 6) หลัง

                  เก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 และปุยสูตร 46-0-0 ในอัตราเทากัน คือ 1 กก./ตน ซ้ําอีกครั้ง

                  10. สรุป


                         กลุมชุดดินที่ 29 ประกอบดวยชุดดินบานจอง เชียงของ โชคชัย หางฉัตร เขาใหญ แมแตง หนองมด
                  ปากชองและสูงเนิน สวนใหญพบในภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลางบนพื้นที่ดอน  มีสภาพ

                  เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขามีความลาดเท 2-20 เปอรเซ็นต ใชประโยชนในการปลูกพืชไร ไมผลและ

                  พืชผัก


                         ลักษณะเนื้อดินสวนใหญเปนดินเหนียว  สีน้ําตาล สีแดง หรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรด
                  จัดถึงเปนกรดจัดมาก คาพีเอช 4.5-5.5 ความอุดมสมบูรณต่ําถึงปานกลางและมีการระบายน้ําดี


                         แมวาศักยภาพของดินจะมีความเหมาะสมในการปลูกพืชไร  ไมผลและพืชผัก แตการใชระบบ
                  เกษตรแบบผสมผสาน เชน การปลูกพืชไร–ไมผล–หญาเลี้ยงสัตว หรือ พืชไร–พืชผัก–ไมผล หรือไมยืนตน–

                  หญาเลี้ยงสัตว เปนตน จะไดผลดีกวาการปลูกพืชอยางใดอยางหนึ่งเพียงอยางเดียว


                         ปญหาสําคัญที่ตองแกไข ไดแก การชะลางพังทลายของหนาดิน การขาดแคลนน้ําในการเพาะปลูก

                  ในฤดูแลง  และดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา

                         การจัดการดินควรเนนในเรื่องตอไปนี้ คือ 1) การอนุรักษดินและน้ํา โดยเฉพาะพื้นที่ซึ่งมีความลาด

                  เทตั้งแต 5  เปอรเซ็นต  ขึ้นไป ดวยการผสมผสานวิธีกลและวิธีทางพืช  และ 2) ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ

                  ของดิน ดวยการใชปุยอินทรียและปุยเคมี สวนการจัดการดินเพื่อใหเหมาะสมกับพืชแตละชนิด จะไดอธิบาย

                  ตอไป

                         นอกจากการจัดการดินที่กลาวแลว  ควรนําเนินการใน 2 ดานตอไปนี้ คือ 1) พัฒนาแหลงน้ําให

                  เพียงพอ  เนื่องจากกลุมชุดดินที่ 29 เปนที่ดอน ระบบชลประทานเขาไมถึง การปลูกพืชในฤดูแลงตองอาศัย
                  แหลงน้ําธรรมชาติหรือบอน้ําประจําไรนา และ 2) การรักษาความชื้นในดินโดยใชวัสดุคลุมดิน
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199