Page 144 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 144

130



                          9.3 การใชปุยสําหรับไมผล และไมยืนตน

                         9.3.1 เงาะ  ระยะหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตใชปุยสูตร 15-15-15 อัตรา 2 กก./ตน รวมดวยปุยอินทรีย

                  2-3 ปบ โดยใสรอบทรงพุม ระยะกอนออกดอกใชปุยสูตร 8-24-24 อัตรา 2 กก./ตน ระยะติดผลใชปุยสูตร

                  15-15-15 อัตรา 1 กก./ตน และกอนเก็บเกี่ยวผลผลิต 1 เดือน ใชปุยสูตร 12-12-17อัตรา 1 กก./ตน โดย

                  หวานใหทั่วบริเวณทรงพุมแลวใชคราดกลบบางๆ หลังรดน้ํา

                         9.3.2 ปาลมน้ํามัน  การใหปุยปาลมน้ํามันสําหรับกลุมชุดดินที่ 26 แนะนําใหใสปุยยูเรีย 2 กก./ตน

                  รวมกับปุยไดแอมโมเนียมฟอสเฟต 1.5 กก./ตน, ปุยโพแทสเซียมคลอไรด 4 กก./ตน, คีเซอรไรด 800 กรัม./ตน

                  และโบเรต 80 กรัม/ตน โดยแบงใสยูเรีย, โพแทสเซียมคลอไรด และคีเซอรไรด ใส2 ครั้งๆ ละเทาๆ กัน ในชวง
                  ตน และปลายฤดูฝน สวนไดแอมโมเนียมฟอสเฟต และโบเรต ใสครั้งเดียวชวงตนฤดูฝน


                         9.3.3 ยางพารา  ยางพารากอนเปดกรีดแบงการใหปุยออกเปน 2 ระยะ คือ 1) ปุยรองกนหลุม ใช

                  ปุยหินฟอสเฟต(0-3-0)อัตรา 170 กรัม/หลุม รวมกับการใชปุยอินทรียในอัตรา 5 กก./ตน/ป ในชวงปแรก

                  และในชวงปที่ 2 ถึง 6 ใหใชปุยอินทรียในอัตรา 2 กก./ตน/ป 2) ปุยบํารุง แนะนําใหใชปุยสูตร 20-8-20 ใน
                  อัตราแตกตางกันตามอายุ คือ ใชในอัตรา 300 กรัม/ตน/ป ในปที่ 1 และใชในอัตรา 450, 460, 480, 520

                  และ 540กรัม/ตน/ป ในปที่ 2, 3, 4, 5 และ 6 ตามลําดับ

                  10. สรุป


                         กลุมชุดดินที่ 26 เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ และ/หรือ เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดย

                  แรงโนมถวงของโลก ของหินดินดาน หินทราย  หินอัคนี หรือหินปูน ที่อยูรวมกับหินดินดานหรือวัสดุตน
                  กําเนิดดินอื่นๆ  ที่มีสมบัติคลายหินดังกลาวขางตน หรือเกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพัดพามาทับถม

                  เปนเวลานาน  พบบริเวณพื้นผิวเหลือคางจากการกรอน  หรือตะพักลําน้ําระดับกลาง  มีสภาพพื้นที่เปนลูก

                  คลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชัน 2-20  เปอรเซ็นต เปนดินลึกถึงลึกมาก สภาพการ

                  ระบายน้ําดีถึงดีปานกลาง ใชในการปลูกพืชไรตางๆ เชน แตงโม ถั่วลิสง สับปะรด ขาวโพดหวาน  มะละกอ
                  ไมยืนตน เชน สะตอ ยางพารา ปาลมน้ํามัน กาแฟ โกโก พริกไทย และไมผล เชน  กลวย มะพราว ทุเรียน

                  เงาะ ฯลฯ มีการชะลางพังทลายของหนาดินเล็กนอยถึงรุนแรงในบริเวณที่มีความลาดชันสูง


                         กลุมชุดดินที่ 26 ประกอบดวยชุดดินหลักๆ คือ ชุดดินอาวลึก ชุดดินหวยโปง ชุดดินกระบี่ ชุดดินลํา

                  ภูรา ชุดดินปากจั่น ชุดดินพังงา ชุดดินภูเก็ต ชุดดินประทิว ชุดดินโคกกลอย ชุดดินทายเหมือง มีลักษณะเนื้อ
                  ดินคอนขางละเอียดปานกลาง คือ เปนดินรวน ดินรวนปนดินเหนียว  ดินรวนปนทราย ดินรวนเหนียวปน

                  ทราย ดินทรายปนดินรวนหรือดินเหนียว  มีสีแดงหรือสีแดงเขม สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนเทา สีน้ําตาลปน

                  เหลือง สีน้ําตาลปนแดง  ดินลางมีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย ดินเหนียวปนทราย มีสี

                  น้ําตาล สีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลปนแดง สีแดงปนเหลือง สีแดง สีแดงเขม หรือสีน้ําตาลปนเทา และมีสี
                  ปนสีแดงคลายจุดประอยูทั่วไป อาจพบชั้นหินแกรนิตผุที่ความลึกประมาณ 50-100  ซม. การระบายน้ําดี
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149