Page 139 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 139

125



                          6.4 การจัดการเพื่อปองกันการชะลางพังทลาย  เนื่องจากในพื้นที่ซึ่งมีความลาดชันสูง มีการชะ

                  ลางพังทลายของดินอยางรุนแรง  เปนเหตุใหความอุดมสมบูรณของดินลดลง เนื่องจากอินทรียวัตถุและ
                  อนุภาคดินเหนียวในดินบน ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการดูดซับธาตุอาหารพืช  ไดถูกพัดพาลงสูที่ต่ํา  จึงควร

                  จัดการอนุรักษดินและน้ําดวยวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เชน 1) การไถพรวน หรือการปลูกพืชตาม

                  แนวระดับขวางความลาดชันของพื้นที่ 2) ทํารองระบายน้ํา ตลอดจนมีมาตรการชะลอความเร็วของการไหล

                  บาของน้ําบนผิวดิน และ 3) ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง ควรทําขั้นบันไดและปลูกพืชคลุมดิน เพื่อปองกัน

                  การชะลางพังทลายของผิวหนาดิน ทั้งในชวงที่ปลูก และหลังจากการเก็บเกี่ยวพืชแลว

                  7. ขอเสนอแนะ

                         กลุมชุดดินที่ 26  มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกพืชไร ไมยืนตน ไมผล และพืชผักตางๆ  หรือ

                  พัฒนาเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว แตไมเหมาะสมในการทํานา เนื่องจากพบในสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด

                  เล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินมีการระบายน้ําดี ระดับน้ําใตดินอยูลึก ดินมีศักยภาพเหมาะสมในการปลูก

                  พืชไรหลายชนิด เชน ถั่วตางๆ ขาวโพดหวาน แตงโม สับปะรด กลวย มะละกอ พืชผักตางๆ ตลอดจนไมยืน

                  ตน เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน  มะพราว มะมวงหิมพานต กาแฟ โกโก สะตอ ไมโตเร็ว ไมผล เงาะ ทุเรียน
                  มังคุด ลองกอง และขนุน ควรมีการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อใชในการเพาะปลูกในฤดูแลง อยางไรก็ตาม เพื่อให

                  การใชประโยชนกลุมชุดดินนี้มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุด ควรจัดระบบการใชที่ดินแบบ “ไรนา

                  สวนผสม” โดยมีการแบงพื้นที่การใชประโยชนที่ดินออกเปนสวนๆ ดังนี้

                          7.1 พื้นที่ปลูกพืชลมลุก  เพื่อปลูกพืชไรอายุสั้น ไมดอกหรือพืชผักตางๆ


                          7.2 พื้นที่ปลูกไมผลหรือไมยืนตน  เพื่อปลูก กาแฟ โกโก สะตอ ไมโตเร็ว ไมผล เงาะ ทุเรียน มังคุด

                  ลองกอง ขนุน หรือไมผลอื่นๆ

                          7.3 พื้นที่พัฒนาแหลงน้ํา  ควรอยูระหวางพื้นที่ปลูกพืชไร ไมผล และพืชผักตางๆ ไมควรเปนที่ลุม

                  และดอนจนเกินไป  ขนาดของแหลงน้ําที่จะพัฒนานั้น ควรเปนขนาดแหลงน้ําประจําไรนา คือ มีความจุ

                                  3
                  ประมาณ 1,250 ม.  สวนจํานวนสระน้ําขึ้นอยูกับปริมาณความตองการน้ําของกิจกรรมตางๆ นอกจากนี้ยัง
                  ควรใชประโยชนแหลงน้ําในการเลี้ยงปลาที่เลี้ยงงาย โตเร็ว และเปนที่ตองการของตลาด สําหรับบริเวณคัน
                  ดินรอบบอหรือสระน้ําควรใชเปนที่ปลูกไมผล เชน มะมวง ขนุน ฝรั่ง กลวย ฯลฯ และไมดอก และไมประดับ

                  ตางๆ  เพื่อใหเกิดรายไดเสริมอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ บริเวณคันดินรอบบอควรมีการปลูกหญา  เชน  หญา

                  แฝกทั้งดานในและดานนอกเพื่อปองกันการกัดเซาะดินบริเวณคันดินดวย

                          7.4 พื้นที่เลี้ยงสัตว  นอกจากการเลี้ยงปลาในแหลงน้ําแลว ยังควรใชพื้นที่ใกลแหลงน้ําในการเลี้ยง

                  ไก หมู และเปด โดยสรางเปนโรงเรือนใกลขอบบอ แลวใหสัตวเลี้ยงถายมูลลงในบอน้ําเปนอาหารปลา ซึ่งจะ

                  ชวยลดคาใชจายดานอาหารปลาไดสวนหนึ่ง
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144