Page 149 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 149

135



                         ดินบนลึกไมเกิน 13 ซม. มีเนื้อดินเปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีน้ําตาลคล้ําปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนดิน

                  เปนกลาง(pH 7.0)  สวนดินลางตอนบนลึกตั้งแต 13 ซม.ลงไป จนถึงประมาณ 50  ซม. มีเนื้อดินเปนดิน
                  เหนียว สีพื้นเปนสีแดงคล้ํา ไมมีจุดประ จากความลึก 50  ซม.ลงไป มีเนื้อดินเปนดินเหนียว สีพื้นเปนสีแดง


                  คล้ํา ปฏิกิริยาดินเปนดินกรดเล็กนอยถึงกรดจัด(pH 5.5-6.5)

                          3.3 การประเมินความอุดมสมบูรณของดิน
                         การประเมินความอุดมสมบูรณของดินแตละชุดไดใชสมบัติทางเคมี 5  อยาง คือ คาความจุในการ

                  แลกเปลี่ยนแคตไอออน(CEC)  เปอรเซ็นตอิ่มตัวดวยเบส(base saturation percentage, %BS)  ปริมาณ

                  อินทรียวัตถุในดิน(OM) ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(avai.P) และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได(exch.K) ซึ่งได

                  จากผลของการวิเคราะหดินที่เปนตัวแทนของชุดดินในกลุมชุดดินนี้  โดยพิจารณาเฉพาะผิวดินระดับความ
                  ลึก 0-30 ซม.  สําหรับวิธีประเมินใชวิธีการในคูมือการวินิจฉัยคุณภาพของดินสําหรับประเทศไทย ป 1973

                  (Soil Interpretation Handbook for Thailand, 1973) พิมพเผยแพรโดยกรมพัฒนาที่ดิน  ซึ่งผลของการ

                  ประเมินสรุปไดดังตารางที่ 27.5


                  ตารางที่ 27.5 ผลการวิเคราะหดิน และระดับความอุดมสมบูรณของแตละชุดดิน

                                            CEC         BS          OM        Avai.P   Exch.K    ระดับความ
                      ชุดดิน      pH
                                          cmol /kg       (%)       (%)      (mg/kg)    (mg/kg)   อุดมสมบูรณ
                                              c
                   ทาใหม       4.85       13.29      11.00       1.90      76.10      32.65     ปานกลาง
                   หนองบอน         -        9.40        7.50       2.48      36.00      12.80        ต่ํา

                   คามัธยฐาน    4.85       11.35       9.25       2.19      56.05      22.73     ปานกลาง

                  สรุป : จากการประเมินความอุดมสมบูรณของกลุมชุดดินที่ 27 พบวา ชุดดินทาใหมมีความอุดมสมบูรณอยู

                        ในระดับปานกลาง สวนชุดดินหนองบอนมีความอุดมสมบูรณอยูในระดับต่ํา


                  4. การประเมินความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชตางๆ

                         กลุมชุดดินที่ 27   มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกไมผล ไมยืนตน และพืชไรบางชนิด แตไม

                  เหมาะสมในการทํานา เนื่องจากสภาพพื้นที่เปนที่ดอนมีลักษณะเปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลาดชัน ดินมีความ

                  พรุนสูง เก็บน้ําไดนอย อยางไรก็ตาม  เพื่อใหเกษตรกรมีทางเลือกในการใชที่ดินกลุมนี้สําหรับการปลูกพืช
                  ตางๆ จึงไดจัดชั้นความเหมาะสมของดินออกเปน 3 อยาง คือ ชั้นความเหมาะสมของดินสําหรับการปลูกพืช

                  ใน 1) ฤดูฝน 2) ฤดูแลง  และ 3) เมื่อมีการพัฒนาที่ดินเพื่อแกไขขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดินแลว ดังได

                  แสดงไวในตารางที่ 27.6
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154