Page 140 - รายงานการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการปลูกพืชเศรษฐกิจหลักตามกลุ่มชุดดิน เล่มที่ 1 ดินบนพื้นที่ราบต่ำ
P. 140

126



                          7.5 บริเวณที่อยูอาศัย  ควรเปนบริเวณสูงสุดของพื้นที่ สวนขนาดของพื้นที่เพื่อการอยูอาศัย ขึ้นอยู

                  กับขนาดของครอบครัว ตลอดจนกิจกรรมอื่นๆ อันเปนอาชีพเสริมของเกษตรกร
                         สําหรับอัตราสวนการใชที่ดินประเภทตางๆ ที่กลาวแลว ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่  ทักษะของเกษตรกร

                  และสภาพเศรษฐกิจ ไดแก ความตองการผลผลิตแตละชนิด ของตลาดทั้งใน และนอกทั้งถิ่น อยางไรก็ตาม

                  ควรยึดแนวทางของทฤษฎีใหม ในการแกปญหาการขาดแคลนน้ําเพื่อการเกษตร  ของพระบาทสมเด็จพระ

                  เจาอยูหัว ที่มีแนวพระราชดําริใหกันพื้นที่ประมาณ 30 เปอรเซ็นต ของพื้นที่ถือครอง เพื่อพัฒนาแหลงน้ํา

                  8. การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชชนิดตางๆ


                         8.1 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชไร

                         ปญหาดินขาดินขาดธาตุอาหารพืชบางอยาง และการชะลางธาตุอาหารพืชไปจากดินสูง

                         การใสปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในกรณีที่เปนแปลงปลูกพืชขนาดใหญ เชน ออย มันสําปะหลัง

                  รวมทั้งขาวโพด ขาวฟาง ชนิดของปุยอินทรียควรจะเนนไปที่การปลูกปุยพืชสดที่เปนพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่ว

                  พุม ปอเทือง โสนอัฟริกันเปนตน โดยเมื่อถั่วดังกลาวนี้ออกดอกไดประมาณ 50 เปอรเซ็นต จะทําการไถกลบ
                  นอกจากนั้นการคงเศษซากพืชหลังการเก็บเกี่ยวแลวไวในแปลง เปนอีกวิธีหนึ่งที่จะเพิ่มอินทรียวัตถุในดินได

                  เปนอยางดี เชน กรณีของแปลงออยโรงงาน การเก็บเกี่ยวลําออยในแตละครั้ง จะมีเศษเหลือออยคงอยูใน

                  แปลงเปนจํานวนมาก เศษเหลือออยดังกลาวนั้นตองไมถูกเผาทิ้งเปนอันขาด อาจทิ้งไวคลุมแปลงแลวรอให

                  สลายตัวโดยจุลินทรีย หรืออาจไถพรวนคลุกลงไปในดิน การใชเศษเหลือจากโรงงานหีบออยโดยเฉพาะ กาก

                  ตะกอนหมอกรอง (filter cake) ก็เปนอีกทางหนึ่งที่จะปฏิบัติไดในการเพิ่มอินทรียวัตถุใหกับดิน แตถาเปน
                  ชนิดพืชที่มีขนาดพื้นที่ปลูกไมใหญโตมากนัก เชน กลวย มะละกอ การใชปุยมูลสัตวตางๆ รวมในการเตรียม

                  ดิน หรือใสรวมไปกับปุยเคมีในแตละครั้ง ก็จะเปนการดีมาก เพราะจะทําใหประสิทธิภาพของปุยเคมีนั้น

                  เพิ่มขึ้น อยางไรก็ตามปุยเคมียังคงมีความจําเปนอยางมากในการผลิตพืช ซึ่งชนิดปุย อัตราปุย รวมทั้ง

                  วิธีการใสปุย จะตองพิจารณาจากชนิดพืชที่ปลูกรวมกับผลการวิเคราะหดินดังที่แสดงไวในตารางที่ 26.5

                          8.2 การเตรียมดินสําหรับปลูกพืชผัก

                         8.2.1 กวางตุง  ไถและตากดินไวประมาณ 7 วัน แลวไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง เพื่อกําจัดวัชพืช หวาน

                  ปุยคอกหรือปุยหมักที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 2 ตัน/ไร/ป ยกรองกวางประมาณ 1.5 เมตร ระยะหางระหวาง

                  รอง 30 ซม. กอนปลูกหวานปุยสูตร 20-10-10 อัตรา 25-30 กก./ไร

                         8.2.2 ถั่วฝกยาว   ไถเตรียมดินประมาณ 7 วัน แลวไถพรวนอีก 1-2 ครั้ง ใสปุยคอกหรือปุยหมักที่

                  ยอยสลายดีแลว อัตรา 2-4 ตัน/ไร


                         8.2.3 ผักกาดขาวปลี  การเตรียมดินคลายคลึงกับกะหล่ําดอกเพียงแตเตรียมดินใหละเอียดขึ้น

                  และทําแนวรองสําหรับหยอดเมล็ดพันธุลึกประมาณ 0.5-0.8  ซม. เพราะเมล็ดพันธุมีขนาดเล็ก ระยะปลูก
                  ระหวางตน และแถว คือ 30-50 และ40-75 ซม.ตามลําดับ
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145