Page 45 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 45

4.  การใชตะแกรงรอน (Direct method)  โดยใหอนุภาคของดินแตกแยกออกจากกัน  แลวใชตะแกรงรอน

            ขนาดรูโตเอาไวขางบนเรียงลําดับลงมาจนถึงเล็กที่สุด  เขยาดินอนุภาคของดินจะแยกออกตามขนาดของรูตะแกรง  แลว
            คิดเปนเปอรเซ็นตของเนื้อดินออกมา ในบางครั้งขณะที่รอนดินกําลังแหงนั้นทําใหลําบาก อาจจะใชน้ําชวยโดยปลอยน้ํา

            จากขางบนลงมาทําใหการแยกตัวของดินไดรวดเร็วและไดผลดีขึ้น

                    5. การวิเคราะหดินทางเชิงกล (Mechanical analysis)  วิธีนี้อาศัยผลการวิเคราะหจากหองปฏิบัติการ  โดย
            คํานวณคาออกมาเปนเปอรเซ็นตของอนุภาคดินตางๆ แลวอานคาออกมาเปนเนื้อดินได

                    พวกอนุภาคที่ขนาดใหญกวา 2 มม. (Particles larger than 2 mm. diameter within the soil) ในการสํารวจดิน

            เราจะพบวาในดินชั้นดินบางแหงจะมีอนุภาคที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางใหญกวา 2  มม.  เกิดขึ้นดวย  โดยเฉพาะดิน

            บริเวณใกลเชิงเขาหรือบนที่สูง ลักษณะเหลานี้จะตองแสดงประกอบไวกับเนื้อดินดวยคือ


            ตารางที่ 4  แสดงชั้นและชนิดของอนุภาคที่ขนาดใหญกวา 2 มิลลิเมตร

               % of large                               Size of Particles (largest dimension)

               particles        0.2-7.5 cm.           7.5-25 cm.            25-60 cm.              > 60 cm.
                 >5-15       Slightly gravelly (sg)      -                     -                      -
                >15-<35         Gravelly (g)         Cobbly (cv)            Stony (st)           Bouldery (by)

                >35-<60       Very gravelly (vg)   Very cobbly (vcb)     Very stony (vst)     Very bouldery (vby)
                >60-<90     Extremely gravelly (xg)   Extremely cobbly (xcb)   Extremely stony (xst)   Extremely bouldery (xby)



                    สําหรับตัวยอที่แสดงไวหลังคําศัพทใหนํามาประกอบหนาตัวยอ ที่แสดงเนื้อดินเลย เชน gravelly  clay  loam

            เปน  gcl,  cobbly clay loam เปน cvcl หรือ very stony sandy loam เปน vstsl เปนตน

                    31)  Mottles – จุดประ : จุดประ (mottles) เปนสีที่เกิดขึ้นนอกเหนือไปจากสีพื้น (matrix color) สวนใหญแลว
                                                                                           ++
            เปนสีที่มีผลสืบเนื่องมาจากการเกิด oxidation หรือ reduction ของธาตุเหล็กหรืออิออนเหล็ก (fe , fe ) ในดิน เมื่อวัดสี
                                                                                               +++
            ของจุดประออกมาแลวใหแจงลักษณะจุดประอีก ดังนี้

                        31.1)  Abundance (ปริมาณ) ถาจุดประนั้น
                           1. มีปริมาณนอยกวา 2% ของพื้นที่ผิว ใหบันทึกวา “few (ตัวยอ f)”

                           2. มีปริมาณ 2-20% ของพื้นที่ผิว ใหบันทึกวา “common (ตัวยอ c)”

                           3. มีปริมาณมากกวา 20% ของพื้นที่ผิว ใหบันทึกวา “many (ตัวยอ m)”

                        31.2)  Size (ขนาด) ถาจุดประนั้น
                           1. มีขนาดเล็กกวา 2 มม. ใหบันทึกวา “fine (ตัวยอ 1)”

                           2. มีขนาด 2-5 มม. ใหบันทึกวา “medium (ตัวยอ 2)”

                           3. มีขนาดระหวาง5- 20 มม. ใหบันทึกวา “coarse (ตัวยอ 3)”
                           4. มีขนาดระหวาง 20-76 มม. ใหบันทึกวา “verycoarse (ตัวยอ 4)”






                                                           38
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50