Page 47 - คู่มือการสำรวจดิน
P. 47

33)   pH -  คาความเปนกรดเปนดางหรือปฏิกิริยาดิน (Soil reaction)

                    การศึกษาทําไดโดยใชชุดวัดปฏิกิริยาดินในสนามวัด pH แลวรายงานดังตอไปนี้
                              pH                                    ปฏิกิริยาดิน

                             <3.5           กรดรุนแรงมากที่สุด            (ultra acid)

                            3.5-4.4         กรดรุนแรงมาก                  (extremely acid)

                            4.5-5.0         กรดจัดมาก                     (very stongly acid)
                            5.1-5.5         กรดจัด                        (strongly acid)

                            5.6-6.0         กรดปานกลาง                    (moderately acid)

                            6.1-6.5         กรดเล็กนอย                   (slightly acid)
                            6.6-7.3         เปนกลาง                      (neutral)

                            7.4-7.8         ดางเล็กนอย                  (slightly alkaline)

                            7.9-8.4         ดางปานกลาง                   (moderately alkaline)

                            8.5-9.0         ดางจัด                       (strongly alkaline)
                             >9.0           ดางจัดมาก                    (very strongly alkaline)



                    34) Classification – การจําแนกดิน : การจําแนกดินในประเทศไทยใชระบบการจําแนกของกระทรวงเกษตร
            สหรัฐอเมริกา (USDA) ที่เรียกวา Soil Taxonomy หรืออนุกรมวิธานดิน ปจจุบันพิมพครั้งที่ 10 ป 2006

                    อนุกรมวิธานดิน เปนระบบการจําแนกดินระบบหนึ่งที่มีการใชอยางแพรหลายในโลก ที่มีจุดประสงคเพื่อใช

            ประโยชนทั้งในดานการสํารวจทรัพยากรดินและการใชประโยชนที่ดิน รวมถึงการจัดการทางการเกษตร
            เปนระบบการจําแนกดินที่เปนหลายชั้น (multicategorical  system)  ตั้งแตขั้นสูงถึงขั้นต่ํา รวม 6  ขั้นดวยกัน คือ อันดับ

            (order) อันดับยอย (suborder) กลุมดินใหญ (great group) กลุมดินยอย (subgroup) วงศดิน (family) และชุดดิน (series)

            ตามลําดับ สําหรับในขั้นชุดดินใชชื่อชุดดินเปนชื่อสถานที่ที่พบดินชนิดหนึ่งที่มีลักษณะเฉพาะตัวแยกออกจากดินอื่นๆ
            ไดเปนครั้งแรก และมีขอบเขตของพื้นที่ที่เปนดินดังกลาวกวางขวางมากพอ ซึ่งกําหนดไววาตองมีพื้นที่ตั้งแต 8  ตาราง

            กิโลเมตรขึ้นไป ลักษณะที่ใชในการจําแนกตามอนุกรมวิธานดินมีมากมาย และใชในระดับตางๆ กัน ในการจําแนกขั้น

            สูงใชชั้นดินวินิจฉัย ซึ่งเปนชั้นดินที่มีลักษณะเดนในดินทั้งที่เปนดินบนและดินลาง และลักษณะวินิจฉัยที่สามารถแบง

            ออกไดเปนสภาพเงื่อนไข (conditions) วัสดุวินิจฉัย (diagnostic materials) สมบัติวินิจฉัย (diagnostic properties) แนว
            สัมผัสวินิจฉัย (diagnostic contacts) สภาพความชื้นของดิน (soil moisture regimes) สภาพอุณหภูมิ (soil temperature

            regimes) และลักษณะวินิจฉัยของดินอินทรีย สําหรับในการจําแนกขั้นต่ํา เนนใชลักษณะที่เกี่ยวของกับการผลิตพืช และ

            ความแตกตางของลักษณะดินในหนาตัดดินเปนพื้นฐานดังที่สรุปไวในภาพที่ 10









                                                           40
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52