Page 13 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 13

รายงานการสํารวจและคาดการณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ปการผลิต 2549

                           โดยใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร


                  1. คํานํา


                         ขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนเปนพืชเศรษฐกิจหลักที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรมอาหารสัตวของ

                  ประเทศ เนื่องจากใชเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว ซึ่งมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ดังนั้นจึง

                  ตองมีการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งดานปริมาณและคุณภาพของขาวโพดเลี้ยงสัตว เพื่อให
                  สามารถแขงขันในตลาดโลกได ในปจจุบันนี้พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวโดยรวมทั้งประเทศมีแนวโนม

                  ลดลง ทําใหไมเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศและมีปริมาณไมแนนอนเนื่องจากการผลิตขึ้นกับ

                  ดินฟาอากาศ ทําใหมีความเสี่ยงตอความเสียหายที่เกิดจากความแหงแลงมาก และพื้นที่ปลูกตองแขงขันกับ

                  พืชเศรษฐกิจอื่นที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา    ดังนั้นเกษตรกรบางสวนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบดังกลาวจึง

                  ลดพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว  หรือปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน  เชน เกษตรกรในภาคเหนือ
                  ตอนบน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือในเกือบทุกจังหวัด เปลี่ยนพื้นที่บางสวนไปปลูกยางพารา เนื่องจากราคา

                  จูงใจ และยังไดรับการสงเสริมจากภาครัฐ เชน เชียงราย พะเยา แพร เลย  อุบลราชธานี ศรีสะเกษ และ

                  หนองบัวลําภู เปนตน  ซึ่งปญหาเหลานี้รัฐบาลพยายามแกไขแตมักไมทันกับเหตุการณ  แตถารัฐบาลมีขอมูล

                  การคาดคะเนผลผลิตลวงหนาที่มีความถูกตองแมนยําและทันเวลา   จะทําใหรัฐบาลสามารถบริหารการ

                  จัดการปญหาเหลานี้ไดอยางสัมฤทธิ์ผล  การใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศ
                  ภูมิศาสตร   เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ซึ่งเปนทางเลือกหนึ่งที่

                  สามารถนําไปใชในการกําหนดแนวทางการบริหารจัดการดานการตลาดไดระดับหนึ่ง


                  2.วัตถุประสงค


                         1)    เพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกล และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อวิเคราะห

                             พื้นที่ปลูกของขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ทั่วประเทศ
                         2)  เพื่อคาดการณผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนปการผลิต 2549 เปนรายตําบล

                         3)  เพื่อจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนปการผลิต 2549

                         4)  เพื่อจัดทําฐานขอมูลการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนของประเทศ


                  3. การดําเนินงาน


                         รวบรวม ศึกษา สํารวจ และวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน เชน พื้นที่ปลูก

                  พันธุปลูก  ผลผลิตและการจัดการ  เปนรายตําบลทั้งประเทศ  โดยการวิเคราะหขอมูลจากดาวเทียมและ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18