Page 9 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 9

ก


                                                   บทสรุปสําหรับผูบริหาร


                         เนื่องจากขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลัก  ที่มีความสําคัญตออุตสาหกรรมอาหารสัตวของ

                  ประเทศไทย  ซึ่งใชเปนวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว  ในป 2548 ประเทศไทยสงออกผลิตภัณฑขาวโพด

                  เลี้ยงสัตวมีมูลคาการสงออก 347.92 ลานบาท และมีมูลคาการนําเขา 148.77  ลานบาท ผลจากการดําเนิน
                  โครงการ การใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ในการวิเคราะหสํารวจพื้นที่

                  ปลูกและประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน  ในปการผลิต 2549  สามารถใชเปนเครื่องมือในการ

                  กําหนดนโยบายดานการผลิตและการตลาดของประเทศไทยไดในระดับหนึ่ง

                         การประเมินผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ปการผลิต 2549
                         จากการวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน โดยใชขอมูลดาวเทียม Landsat - 5 ระบบ TM

                   รวมกับการตรวจสอบภาคสนาม พบวาในปการผลิต 2549  มีพื้นที่ปลูกครอบคลุม 37 จังหวัด  รวมเนื้อที่

                   ทั้งสิ้น  5,992,566 ไร  จาก 4 ภูมิภาค โดยภาคเหนือมีพื้นที่ปลูกมากที่สุด ประมาณรอยละ 61.71 ของ

                   พื้นที่ปลูกทั้งประเทศ   จังหวัดเพชรบูรณ  มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุดของประเทศ  มีเนื้อที่รวม 1,037,045  ไร
                   ผลผลิตรวม  762,328.26  ตัน

                         จากขอมูลภาคสนามนํามาวิเคราะหหาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล  เพื่อประเมินผลผลิตขาวโพด

                   เลี้ยงสัตวฤดูฝน ไดผลผลิตรวมทั้งสิ้น 4,343,344.93 ตัน โดยมีผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ 725 กิโลกรัมตอไร

                   จําแนกตามรายภาคไดดังนี้

                         1.   ภาคเหนือ   มีเนื้อที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนในภาคเหนือรวม 16  จังหวัด  คือ
                  จังหวัดเพชรบูรณ  ตาก  นครสวรรค  เชียงราย  นาน  พิษณุโลก  กําแพงเพชร  พะเยา  อุทัยธานี

                  อุตรดิตถ แพร สุโขทัย ลําพูน เชียงใหม พิจิตร และจังหวัดลําปาง มีเนื้อที่รวม  3,697,962  ไร หรือ

                  รอยละ 61.71 ของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนทั้งประเทศ  ไดผลผลิตรวม 2,726,314.29  ตัน มี

                  ผลผลิตเฉลี่ยภาค  737   กิโลกรัมตอไร  ถือเปนแหลงผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนใหญที่สุดของ
                  ประเทศ  โดยจังหวัดเพชรบูรณมีเนื้อที่ปลูกมากที่สุด 1,037,045 ไร และมีผลผลิตรวม 762,328.26 ตัน

                  พันธุที่นิยมปลูกมากที่สุด คือ พันธุซีพี.ดีเค. 888   พันธุคารกิลล 919   และพันธุบิ๊ก 717 ตามลําดับ

                         2.   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   มีเนื้อที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนครอบคลุม 9  จังหวัด  คือ

                  จังหวัดนครราชสีมา  เลย  ชัยภูมิ  หนองบัวลําภู  ศรีสะเกษ  อุดรธานี  อุบลราชธานี  หนองคาย  และจังหวัด
                  ขอนแกน มีเนื้อที่รวม  1,175,063  ไร  หรือรอยละ  19.61 ของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนทั้งประเทศ

                  โดยมีผลผลิตรวม 831,235.12 ตัน มีผลผลิตเฉลี่ยภาค  707 กิโลกรัมตอไร  มีจังหวัดนครราชสีมาเปน

                  แหลงผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนรายใหญของภูมิภาคนี้  โดยมีเนื้อที่ปลูก 489,695 ไร และมีผลผลิตรวม

                  338,499.82 ตัน พันธุที่นิยมปลูกในภูมิภาคนี้มากที่สุด  คือ  พันธุคารกิลล 919  พันธุซีพี.ดีเค. 888  และพันธุ

                  บิ๊ก 717
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14