Page 18 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 18

6

                         3.6  ระยะเวลาดําเนินการ



                                เริ่ม    เดือนมิถุนายน  พ.ศ.2549

                                สิ้นสุด   เดือนกันยายน   พ.ศ.2549

                                     รวมเวลาในการดําเนินการทั้งสิ้น  4  เดือน


                  4.  ผลที่คาดวาจะไดรับ


                         1)      แผนที่แสดงพื้นที่ปลูก  ( Digital file และ Hard copy ) รายตําบล  ของขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนทั่วประเทศ

                              2)44ฐานขอมูลดานการผลิตและแหลงแปรรูปของขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน ในปการผลิต 2549  ราย

                  ตําบล ซึ่งทําใหทราบถึงแหลงปลูก  ปริมาณผลผลิต  พันธุ  การจัดการ  ราคาผลผลิต  และขอมูลอื่นๆ  ซึ่ง

                  สามารถใชเปนฐานขอมูลการผลิต   เพื่อกําหนดยุทธศาสตรในการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

                  และการตลาดในอนาคต



                  5.  ผลการดําเนินงาน



                         5.1  การกระจายพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนที่ปลูกในปการผลิต  2549
                         ผลการสํารวจและรวบรวมขอมูล   จากการสุมตัวอยางในภาคสนามของเกษตรกรจํานวน  5,765

                  ราย   จากภาคเหนือ  3,267   ราย   หรือรอยละ  56.67   ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด   ภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ  1,646  ราย  หรือรอยละ  28.55  ภาคกลาง  654  ราย  หรือรอยละ  11.34  และภาค

                  ตะวันออก  198  ราย  หรือรอยละ  3.44  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ทุก
                  ตําบลที่มีการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน   สามารถสรุปพันธุขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนที่เกษตรกรนิยมปลูก

                  มากที่สุด  ไดดังนี้

                         (1)   พันธุซีพี.ดีเค. 888  เกษตรกรปลูกรอยละ  34.74  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด โดย

                  นิยมปลูกมากที่ภาคเหนือ
                         (2)   พันธุคารกิลล 919  เกษตรกรปลูกรอยละ  17.69  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด

                  นิยมปลูกมากที่ภาคเหนือ  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                         (3)   พันธุบิ๊ก 717  เกษตรกรปลูกรอยละ  6.87  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด  นิยมปลูก

                  มากที่ภาคเหนือ  และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                         (4)  พันธุแปซิฟค 984  เกษตรกรปลูกรอยละ  2.26  ของจํานวนเกษตรกรตัวอยางทั้งหมด นิยม
                  ปลูกมากที่ภาคเหนือ  และภาคกลาง
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23