Page 16 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 16

4

                         3.4  วิธีดําเนินงาน


                         1)  รวบรวมและตรวจสอบเอกสาร  เอกสารและขอมูลตางๆ  ทั้งในรูปรายงานและแผนที่

                  ที่เกี่ยวของ  ขอมูลสถิติของพื้นที่ปลูกและผลผลิตจะไดรับการตรวจสอบ  เพื่อนําขอมูลดังกลาวมากําหนด

                  แผนการดําเนินการทั้งพื้นที่สํารวจและวิธีการ  รวมทั้งระยะเวลาดําเนินการทั้งโครงการ

                         2)  การเตรียมขอมูลจากดาวเทียม
                                 2.1   การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต ( Geometric Correction )  เนื่องจาก

                  ขอมูลดาวเทียมที่ไดมายังมีความคลาดเคลื่อนในเชิงตําแหนงทางภูมิศาสตร  จึงตองดําเนินการแกตําแหนง

                  ใหถูกตองเพื่อใหซอนทับกับขอมูล ( แผนที่ ) อื่นๆได  โดยใชแผนที่แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน   1 : 50,000

                  จากกรมแผนที่ทหารเปนแผนที่อางอิง  โดยใชโปรแกรมประยุกต  PCI  ( EASI/PACE)  ในการดําเนินการ
                                 2.2    การเนนภาพ  ( Image Enhancement )  เปนการเพิ่มความคมชัดของขอมูล

                  ชวยทําใหการวิเคราะหมีความถูกตองแมนยํามากยิ่งขึ้น

                                 2.3   การผลิตภาพขอมูลดาวเทียม  ภาพที่ใชเปนภาพผสมสีเท็จสามชวงคลื่น  โดยทําการ

                  ผสมสีดังนี้  ชวงคลื่นที่  4  ใหผานตัวกรองแสงสีแดง  ( Red filter )  ชวงคลื่นที่  5  ใหผานตัวกรองแสง
                  สีเขียว  ( Green filter )  ชวงคลื่นที่  3  ใหผานตัวกรองแสงสีน้ําเงิน  ( Blue filter )  จะทําใหไดภาพผสม  3

                  ชวงคลื่น  เปน  4R – 5G – 3B

                         3)  การสํารวจและวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน
                                 3.1  วิเคราะหขอมูลดาวเทียม  จําแนกพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน  ในระดับตําบล

                  อําเภอ  และจังหวัด  ครอบคลุมพื้นที่ปลูกทั้งหมด  และจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน

                  โดยการแปลจากภาพถายดาวเทียมดวยสายตา  เพื่อใชตรวจสอบในภาคสนาม

                                 3.2  การสํารวจภาคสนาม    ตรวจสอบการแปลภาพจากขอมูลดาวเทียม  จําแนกพื้นที่
                  ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝน  และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูก  เชน  ขนาดพื้นที่  พันธุขาวโพด

                  เลี้ยงสัตวฤดูฝน  ผลผลิตเฉลี่ยตอไร  ระยะเวลาเก็บเกี่ยว  การจัดการดูแลรักษา  ราคาที่เกษตรกรขายได

                  เปนตน   ทั้งนี้โดยใชเครื่องอานพิกัดทางภูมิศาสตร ( GPS )  บอกตําแหนงจุดตรวจสอบแตละจุดไดอยาง

                  แมนยํา  ซึ่งสามารถอางอิงไดกับแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราสวน 1 : 50,000 ทั้งนี้โดยมีเปาหมายการเก็บ

                  ขอมูลครอบคลุมทุกตําบล
                                 3.3  จัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนรายตําบล  ของแตละจังหวัด

                         4)  สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database )   โดยการนําเขาขอมูลทั้งในรูป

                  แผนที่  จุดพิกัด  พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม  เพื่อสรางฐานขอมูลในการวิเคราะห

                  พื้นที่ปลูก  และประเมินผลผลิตดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS )   ดังนี้
                                 4.1  ฐานขอมูลเชิงพื้นที่  ( Spatial data ) ประกอบดวย

                                         - แผนที่พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูฝนรายตําบลของแตละจังหวัดทั้ง  37  จังหวัด
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21