Page 249 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 249

194



                         -  กําจัดวัชพืช  และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสและแมลงพาหะนําโรค
                         -  ใชสารกําจัดแมลง  เชน  สารดูดซึม  เชน  ฟูราดาน  คูราแทร  หรือมิปซิน  หรือสารกําจัดแมลงฉีด

                  พน  เชน  เซฟวิน 85

                         2.  โรคจู  เกิดจากเชื้อไวรัส  โดยมีเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลเปนพาหะนําโรค  ตนที่เปนโรคจะเตี้ย

                  แคระแกร็น  ใบสีเขียวเขมแคบและสั้น  ใบใหมจะแตกชากวาปกติ  และเมื่อแตกพุงขึ้นมาดูไมคอยสมบูรณ

                  ปลายใบจะบิดเบี้ยว  โรคใบหงิก  ขาวจะออกรวงชา  และรวงไมสมบูรณ  เมล็ดจะลีบเปนสวนใหญและดาง
                  เสียคุณภาพ  เกิดไดกับตนขาวทุกระยะ  ตนขาวอายุ  15 - 45  วัน  จะแสดงอาการรุนแรงมาก  ถามีอายุเกิน

                  60  วัน  แมจะไดรับเชื้อจะแสดงอาการไมรุนแรงนัก

                         การปองกันกําจัด
                         -  กําจัดวัชพืช  และพืชอาศัยแมลงพาหะนําโรค

                         -  ใชสารกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล

                         3.  โรคไหม  เกิดจากเชื้อรา  พบระบาดระหวางเดือนมิถุนายน - สิงหาคม  พบประจําในแหลงที่มี

                  การทํานามากกวาปละหนึ่งครั้ง  และในนาที่หวานขาวหนาแนนอับลม  ใสปุยปริมาณมาก  มีสภาพแหงแลง
                  ในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน  เชื้อสามารถติดไปกับเมล็ดขาว  ลม  น้ํา  และเศษฟางขาว

                         การปองกันกําจัด

                         คลุกเมล็ดพันธุขาวดวยสารกําจัดเชื้อรากอนปลูก  เชน  benomyl + thiram ( Benlate-t  20% WP )

                  อัตรา  3  กรัมตอเมล็ดพันธุ  1  กิโลกรัม  หรือ  kasugamycin ( Kasumin  2% WP )  อัตรา  3 กรัมตอ
                  เมล็ดพันธุ  1  กิโลกรัม
   244   245   246   247   248   249   250   251   252