Page 246 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 246

191



                         ขอควรระวัง
                                -  ไมตานทานโรคใบสีสม

                                -  ไมตานทานแมลงบั่ว


                  ศัตรูขาวที่พบมาก

                         1.  เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล ( สถาบันวิจัยขาว, 2548 )  เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลสามารถทําลาย

                  ขาวทั้งตัวเต็มวัยและตัวออนโดยทําลายขาวได  2  ทาง  คือ  การทําลายทางตรงและทางออม

                         การทําลายทางตรง  ดูดกินน้ําเลี้ยงจากตนขาวบริเวณโคนตนขาว  เมื่อแมลงมีจํานวนมากจะทํา
                  ใหขาวมีอาการใบเหลืองแหงลักษณะคลายถูกน้ํารอนลวก  เรียกอาการไหม ( hopper burn )  ทําใหขาว

                  แหงตายทั้งกอ  โดยทั่วไปจะพบอาการไหมในระยะแตกกอ  ตั้งทองและออกรวง  ซึ่งเปนระยะอายุขัยที่  2 - 3llll

                  ของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาขาวที่มีปริมาณประชากรสูงสุดในสภาพแวดลอม   และพันธุขาวที่เหมาะสม

                  แตถาสภาพแวดลอมไมเหมาะสมเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลก็ไมสามารถเพิ่มปริมาณมากจนกอใหเกิดความ
                  เสียหายกับขาวได

                         การทําลายทางออม  โดยเปนพาหะนําเชื้อไวรัสโรคใบหงิก ( rice ragged stunt )  หรือที่รูจักใน

                  หมูชาวนาวา  " โรคจู "  มาสูขาว  ทําใหตนขาวมีอาการแคระแกร็น  ตนเตี้ย  ใบสีเขียวเขม  แคบและสั้น  ใบ

                  ไหม  แกชากวาใบปกติ  ปลายใบบิดเปนเกลียวและขอบใบแหวงวิ่น  ขาวออกรวงไมสม่ําเสมอขาวออกรวง

                  ไมสุดรวง   และรวงลีบ   ผลผลิตจะเสียหายมาก   ปจจุบันเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลถือวาเปนแมลงศัตรูขาวที่
                  สําคัญที่สุด  โดยพบระบาดทั่วไปทุกภาค  โดยเฉพาะภาคกลางที่พบจะระบาดทําความเสียหายอยางรุนแรง

                          การปองกันกําจัด ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )

                          -  ใชพันธุขาวตานทาน  ไดแก  สุพรรณบุรี 1  สุพรรณบุรี 2  สุพรรณบุรี 90  ชัยนาท 1  กข  23
                          - การเขตกรรม  เชน  มีการระบายน้ําออกจากแปลงนา  7 - 10  วัน  ในชวงใกลเก็บเกี่ยว  และ

                  เมล็ดขาวเริ่มแข็งแลว

                          -  อนุรักษศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาล  เชน  มวนเขียวดูดไข  มวนจิงโจน้ํา  ดวงกน

                  กระดก  ดวงดิน  ดวงเตา  แมงมุมเขี้ยวยาว  แตนเบียน  แมลงปอเข็ม

                          -  ใชสารเคมี  เชน  คารแทบ + ไอโซโปรคารบ 6% กิโลกรัมตอไร  อิมิดาโคลพริด 65% EC. อัตรา
                  60  ซีซีตอไร  บูโพรเฟซิน + ไอโซโปรคารบ 25% WP.  100  กรัมตอไร

                         2.  หนอนหอใบขาว ( สถาบันวิจัยขาว, 2548 )  ผีเสื้อหนอนหอใบขาวจะเคลื่อนยายเขาแปลงนา

                  ตั้งแตขาวยังเล็กและวางไขที่ใบออนโดยเฉพาะใบที่  1 - 2  จากยอด  เมื่อตัวหนอนฟกออกมาจะแทะผิวใบ

                  ขาวสวนที่เปนสีเขียว   ทําใหเห็นเปนแถบยาวสีขาว   มีผลใหสังเคราะหแสงลดลง   หนอนจะใชใยเหนียวที่

                  สกัดจากปากดึงขอบใบขาวทั้งสองดานเขาหากันเพื่อหอหุมตัวหนอนไว   หนอนจะทําลายใบขาวทุกระยะ
                  การเจริญเติบโตของขาว  ถาหนอนมีปริมาณมากจะใชใบขาวหลายๆใบมาหอหุมและกัดกินอยูภายใน  ซึ่ง
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251