Page 248 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 248

193



                  ขาวแสดงอาการที่เรียกวา  " หลอดหอม "  ทําใหตนขาวเกิดอาการแคระแกร็น เตี้ย  ลําตนกลม  เขียวเขม
                  โดยยอดที่ถูกทําลายจะไมสามารถใหรวงได   ทําใหผลผลิตของขาวลดลงอยางมาก   โดยฤดูหนึ่งบั่ว

                  สามารถขยายพันธุได  6 - 7  ชั่วอายุๆ ที่  2, 3 และ 4  จะเปนชั่วอายุที่สามารถทําความเสียหายใหขาวได

                  มากที่สุด

                         การปองกันกําจัด ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )

                         -  ใชพันธุขาวที่สามารถตานทานตอการทําลายของบั่ว  เชน กข 4, กข 9, เหมยนอง 62 เอ็ม, เหนียว
                  สันปาตอง  และขาวดอกมะลิ 105

                         -  ใชสารกําจัดแมลงชนิดเม็ด  เชน  carbofuran  หรือ  benfuracarb  หรือ  fenofos  หวานเมื่อพบ

                  หลอดบั่วประมาณ  3  เปอรเซ็นต

                         5.   หอยเชอรี่  (  กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )   ลักษณะเหมือนหอยโขงแตตัวโตกวา
                  เจริญเติบโตและขยายพันธุไดอยางรวดเร็ว  โดยพบการระบาดอยูทั่วทุกภาคของประเทศไทย  หอยเชอรี่จะ

                  เขาทําลายโดยกินพืชที่มีลักษณะนุมไดเกือบทุกชนิด  โดยเฉพาะตนขาวในระยะตนกลา  และที่ปกดําใหมๆ

                  ไปจนถึงระยะแตกกอ  โดยเริ่มกัดสวนโคนตนที่อยูใตน้ํา  จากนั้นกินสวนใบที่ลอยน้ํา  จนหมดใชเวลา  1 -

                  2  นาที
                         การปองกันกําจัด

                         -  วิธีกล  เก็บทําลายเมื่อพบตัวหอยและไข  หรือดักกั้นตามทางน้ําผาน  โดยใชตาขายถี่กั้นขณะสูบ

                  น้ําเขานาขาว  และกั้นบริเวณทางน้ําผาน  หรือใชไมหลักปกในนาขาว  เพื่อลอใหหอยมาวางไข  แลวนําไป
                  ทําลาย   หรือใชพืชที่หอยเชอรี่ชอบกินเหยื่อลอใหหอยเชอรี่เขามากินและหลบซอนตัว   จากนั้นจึงนําไป

                  ทําลาย

                         -  โดยชีววิธี  เชน  เลี้ยงเปดในนาขาว  หรืออนุรักษใชศัตรูธรรมชาติ  เชน  นกปากหาง  นกกระปูด

                  เพื่อใหชวยกําจัดและลดปริมาณหอยเชอรี่

                         -  ใชสารเคมี  คอปเปอรซัลเฟต ( จุนสี )  ในอัตรา  1  กิโลกรัม/ไร  ละลายน้ําแลวพน  หรือรดใหทั่ว
                  แปลงนาที่มีระดับน้ําสูงไมเกิน  5  เซนติเมตร  และใชสารกําจัดหอยเชอรี่ชนิดอื่นๆ



                  โรคขาวที่พบมาก ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )
                         1.  โรคใบสีสม  เกิดจากเชื้อไวรัส  โดยมีเพลี้ยจักจั่นสีเขียวเปนพาหะนําโรค  พบไดทุกระยะของ

                  ขาว  โดยใบขาวจะเริ่มมีสีเขียวสลับเหลือง  ตอมาจะเปลี่ยนเปนสีเหลือง  เริ่มจากปลายใบเขาหาโคนใบ  ถา

                  เปนรุนแรงในระยะตนกลา   ขาวอาจจะตายได   แตถาเปนนาระยะปกดํา   ตนที่เปนโรคจะเตี้ยแคระแกร็น

                  ชวงลําตนจะสั้นกวาปกติ  ใบใหมที่โผลออกมาจะมีตําแหนงต่ํากวาขอตอของใบลาสุด  อาจตายทั้งกอ  หรือ

                  ออกรวงขนาดเล็ก  ลาชากวาปกติ  หรือไมออกรวงเลย
                         การปองกันกําจัด

                                -  ใชพันธุขาวตานทาน  เชน  กข 1, กข 3
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252