Page 247 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิต ข้าวนาปรัง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 247

192



                  ปกติจะพบตัวหนอนเพียงตัวเดียวในใบหอนั้น  ในระยะขาวออกรวงหนอนจะทําลายใบธงซึ่งมีผลตอผลผลิต
                  เพราะทําใหขาวมีเมล็ดลีบ  น้ําหนักลดลง  หนอนหอใบสามารถเพิ่มปริมาณได  2 - 3 อายุขัย  ตอฤดูปลูก

                          การปองกันกําจัด ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )

                          -  ในนาหวานน้ําตม  ชวงขาวอายุ  15 - 20  วันหลังปลูก  ไมควรใสปุยไนโตรเจนมากเกิน  5  กิโลกรัมตอไร

                  เชน  ปุยยูเรีย ( 46-0-0 )  ไมควรเกิน  10  กิโลกรัมตอไร  ปุยแอมโมเนียมฟอสเฟส ( 16-20-0 )  ไมควรเกิน 30

                  กิโลกรัมตอไร
                          -  ในระยะขาวแตกกอเมื่อตรวจพบใบขาวถูกทําลายเกิน  10%  หรือชวงขาวตั้งทอง - ออกรวง พบ

                  ใบขาวถูกทําลายเกิน  5%  จึงใชสารกําจัดแมลงในการปองกันกําจัด

                          -  ใชสารกําจัดแมลงชนิดพนน้ําไดผลดี  เชน  carbosulfan  และ  quinaphos

                         3.  หนอนกอขาว ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )  ในประเทศไทยพบหนอนกอที่ทําลายขาวที่
                  สําคัญ  4  ชนิด  คือ  หนอนกอสีครีม  หนอนกอแถบลาย  หนอนกอแถบลายมวง  และหนอนกอสีชมพู ซึ่ง

                  จะเขาทําลายขาวหลังจากฟกออกจากไข  โดยจะเจาะเขาทําลายกาบใบถึงลําตน  ทําใหเกิดอาการใบเหี่ยว

                  ในระยะแรก  ใบและยอดที่ถูกทําลายจะเหลืองในระยะตอมา  ซึ่งการทําลายขาวในระยะนี้จะทําใหขาวเกิด

                  อาการยอดเหี่ยว  ถาหนอนเขาทําลายในระยะขาวตั้งทอง  หรือออกรวง  จะทําใหรวงขาวมีเมล็ดลีบทั้งรวง
                  เกิดอาการที่เรียกวา  ขาวหัวหงอก

                         การปองกันกําจัด ( สถาบันวิจัยขาว, 2548 )

                         -  ควรเผาตอซังขาวหลังเก็บเกี่ยว  ไขน้ําทวมและไถดินทําลายดักแดและหนอนที่อยูตามตอซัง

                         -  ปลูกพืชหมุนเวียน

                         -  ไมควรใสปุยไนโตรเจนมากเกินไป  ทําใหใบขาวงามหนอนกอชอบวางไข
                         -  ใชแสงไฟลอตัวเต็มวัยและทําลาย

                         -  ใชสารกําจัดแมลงชนิดเม็ด  เชน  carbofuran  หวานหลังหวานขาว  30  วัน ( นาหวาน ) หรือ 20

                  วันหลังปกดํา ( นาดํา )  หลังจากนั้นเมื่อพบอาการยอดเหี่ยวมากกวา  5%  ใหพนสารกําจัดแมลงชนิดน้ํา

                  เชน  monocrotophos, carbosulfan   หรือหวานสารกําจัดแมลงชนิดเม็ด cartap+isoprocarb  หรือ
                  benfuracarb  หรือ  triazophos ( กรมสงเสริมการเกษตร, 2548 )

                         4.  บั่ว ( สถาบันวิจัยขาว, 2548 )  แมลงบั่วเปนแมลงศัตรูขาวที่สําคัญในภาคเหนือตอนบน เชน  ที่

                  จังหวัดตาก  แพร  ลําปาง  นาน  พะเยา  แมฮองสอน  เชียงราย  และจังหวัดเชียงใหม  ซึ่งพบระบาดรุนแรง

                  ในชวงเดือนกันยายนถึงตุลาคม   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดขอนแกน  อุบลราชธานี  หนองคาย
                  นครพนม  และจังหวัดสกลนคร  ตัวเต็มวัยของแมลงบั่ว  มีลักษณะคลายยุงแตลําตัวมีสีสมยาวประมาณ  3

                  - 4  มิลลิเมตรหนวดและขามีสีดํา  เวลากลางวันตัวเต็มวัยจะเกาะซอนตัวอยูใตใบขาว ตัวเมียวางไขใตใบ

                  ขาว  ตัวหนอนที่ฟกจากไขจะคลานตามบริเวณกาบใบ  เพื่อแทรกตัวเขาไปในกาบใบ เขาไปอาศัยกัดกินที่

                  จุดกําเนิดของหนอออน  ขณะที่หนอนอาศัยกัดกินหนอออนนั้น  ตนขาวจะสรางหลอดหุมตัวหนอนไว  ทําให
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252