Page 13 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 13

3



                              ขอมูล

                              -  ขอมูลเชิงตัวเลข  ( Digital data )  จากดาวเทียม   Landsat – 5  ( TM )  ครอบคลุมทุกจังหวัด

               เปาหมายจากสํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ( องคการมหาชน ) กระทรวงวิทยาศาสตร
               และเทคโนโลยี

                              -  แผนที่  Digital การใชที่ดินระดับจังหวัด  สํารวจป พ.ศ. 2543 - 2545  โดยสํานักสํารวจดินและ

               วางแผนการใชที่ดิน   กรมพัฒนาที่ดิน

                              -  แผนที่ Digital  แสดงกลุมชุดดินและจําแนกความเหมาะสมของดิน   สําหรับพืชเศรษฐกิจของ
               ประเทศไทย ระดับจังหวัด  จากฐานขอมูลกรมพัฒนาที่ดิน ( CD-ROM )  พ.ศ. 2545

                              -  แผนที่ Digital  แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบลทั้งประเทศ  จากกรมการปกครอง

               พ.ศ. 2547

                              -  แผนที่ Digital  แสดงเขตชลประทาน  กรมชลประทานและกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ

               อนุรักษพลังงาน
                              -  แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวน 1 : 50,000  และ 1 : 250,000   ครอบคลุมพื้นที่สํารวจ   จาก

               กรมแผนที่ทหาร

                              -  ขอมูลสถิติการเกษตร   จากกรมสงเสริมการเกษตร   และสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

               ป พ.ศ. 2544 - 2546

                              -  ขอมูลเกี่ยวกับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย   จากกรมวิชาการเกษตร และกรมสงเสริม


               การเกษตร  กระทรวงเกษตรและสหกรณ  และขอมูลอื่นๆ  ที่เกี่ยวของจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม   และกรม


               สงเสริมการสงออก





                      3.4 วิธีดําเนินงาน

                              (1)  รวบรวมและตรวจสอบเอกสาร   เอกสารและขอมูลตาง  ๆ   ทั้งในรูปรายงานและแผนที่
               ที่เกี่ยวของ  ขอมูลสถิติของพื้นที่ปลูกและผลผลิตจะไดรับการตรวจสอบ  เพื่อนําขอมูลดังกลาวมากําหนดแผนการ

               ดําเนินการทั้งพื้นที่สํารวจและวิธีการ รวมทั้งระยะเวลาดําเนินการทั้งโครงการ

                              (2)  การเตรียมขอมูลจากดาวเทียม
                                     2.1 การแกไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต ( Geometric Correction )  เนื่องจาก

               ขอมูลดาวเทียมที่ไดมายังมีความคลาดเคลื่อนในเชิงตําแหนงทางภูมิศาสตร   จึงตองดําเนินการแกไขตําแหนง

               ใหถูกตองเพื่อใหสามารถซอนทับกับขอมูล ( แผนที่ ) อื่น ๆ ได  โดยใชแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวน 1 : 50,000

               จากกรมแผนที่ทหารเปนแผนที่อางอิง ทั้งนี้โดยใชโปรแกรมประยุกต  PCI ( EASI/PACE )  ในการดําเนินการ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18