Page 8 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 8

ก


                                                   บทสรุปสําหรับผูบริหาร


                      ถั่วเหลืองเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย  ซึ่งใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรมที่สําคัญ

               หลายอยางของประเทศ  ปจจุบันผลผลิตถั่วเหลืองภายในประเทศไมเพียงพอ  และในแตละปรัฐตองอนุญาตให

               มีการนําเขาถั่วเหลืองเปนปริมาณมาก  ในป  พ.ศ. 2548 ประเทศไทยนําเขาผลิตภัณฑถั่วเหลืองแยกเปนผลผลิต
               ของเมล็ดถั่วเหลือง  1.607  ลานตัน  และกากถั่วเหลืองประมาณ 1.876 ลานตัน  ( สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,

               2548)  ดังนั้น เพื่อไมใหมีการนําเขาถั่วเหลืองมากเกินความตองการของตลาด ซึ่งจะสงผลใหราคาผลผลิต

               ถั่วเหลืองในประเทศลดต่ําลง  ประเทศไทยจึงจําเปนตองมีฐานขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่ปลูก  ผลผลิต และแหลง

               อุตสาหกรรมถั่วเหลืองในประเทศที่ถูกตอง  เพื่อใชเปนเครื่องมือในการกําหนดนโยบายดานการผลิตและ

               การตลาด   ผลจากการดําเนินโครงการการใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
               เพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตถั่วเหลืองใน  ป  พ.ศ.2549  สามารถใชเปนขอมูลภาพรวมของการ

               ผลิตถั่วเหลืองของประเทศไทยไดระดับหนึ่ง

                      จากการวิเคราะหพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง (ปลูกระหวางเดือนพฤศจิกายน 2548  ถึง  มีนาคม 2549)

               ทั้งประเทศโดยใชขอมูลจากดาวเทียม Landsat – 5 (ระบบ Thematic Mapper : TM)  รวมกับการตรวจสอบ
               ภาคสนาม พบวาในป พ.ศ. 2549  มีพื้นที่ปลูกครอบคลุม  25 จังหวัด  แหลงผลิตถั่วเหลืองที่สําคัญของไทยอยูใน

               3  ภาค  ไดแก  ภาคเหนือ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภาคกลาง  รวมเนื้อที่ทั้งสิ้น 556,852  ไร  ลดลงจาก

               ปการผลิต 2548  รอยละ 15.36  เปนพื้นที่ในเขตชลประทาน  181,434  ไร  นอกเขตชลประทาน  375,418 ไร

               โดยภาคเหนือมีเนื้อที่ปลูกรอยละ 63.59  ของเนื้อที่เพาะปลูกทั้งประเทศ  โดยจังหวัดแพรมีเนื้อที่ปลูก
               มากที่สุด  จํานวน 82,561 ไร   ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่ปลูกรอยละ 36.34  ทั้งนี้ โดยปกติในภาคเหนือ

               เกษตรกรจะทําการเพาะปลูกทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง  ภาคตะวันอออกเฉียงเหนือจะเพาะปลูกในฤดูแลง  สวนภาค

               กลางมีพื้นที่ปลูกที่จังหวัดกาญจนบุรี มีเนื้อที่  409  ไร  และไดผลผลิตเฉลี่ยสูงกวาภาคอื่น ๆ  คือ  361  กก.ตอไร
                      จากขอมูลภาคสนาม  นํามาวิเคราะหหาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล  เพื่อประเมินผลผลิตถั่วเหลือง

               ไดผลผลิตรวมทั้งสิ้น 139,551.03  ตัน  โดยมีผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศ 251    กก.ตอไร  พันธุที่นิยมปลูก

               มากที่สุด  คือ  พันธุเชียงใหม 60  พันธุอื่นๆ นอกจากนี้ปลูกไมมากนัก ไดแก พันธุ เชียงใหม 2, สจ.4,

               สจ.5 สุโขทัย 1, สุโขทัย 2, ราชมงคล และตาแดง   เปนตน  พื้นที่ปลูกและผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแลง จําแนก

               ตามรายภาคไดดังนี้
                      1. ภาคเหนือ  มีเนื้อที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงในพื้นที่ 16  จังหวัด  จํานวน 354,110  ไร  หรือรอยละ

               63.59  ของพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองทั้งประเทศ    ลดลงจากปการผลิต 2548  รอยละ  16.07  เปนพื้นที่ในเขต

               ชลประทาน 152,842  ไร นอกเขตชลประทาน  201,268  ไร  ไดผลผลิตรวม 88,820.50 ตัน  ผลผลิตเฉลี่ย

               ทั้งภาค  251 กก.ตอไร  ถือเปนแหลงผลิตถั่วเหลืองรายใหญที่สุดของประเทศ  โดยจังหวัดแพร  มีเนื้อที่

               ปลูกมากที่สุด  82,561 ไร   และมีผลผลิต  19,442.70  ตัน  พันธุที่นิยมปลูกมาก  คือ  พันธุเชียงใหม 60
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13