Page 16 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 16

6


                                     3.2   การสํารวจภาคสนาม  เพื่อตรวจสอบการแปลภาพจากขอมูลดาวเทียมจําแนก

               พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลง  และรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับการปลูก  เชน  ขนาดพื้นที่  พันธุถั่วเหลืองฤดูแลง
               ผลผลิตเฉลี่ยตอไร   ระยะเวลาเก็บเกี่ยว   การจัดการดูแลรักษา   ราคาที่เกษตรกรขายได  ฯลฯ   ทั้งนี้โดยใช

               เครื่องอานพิกัดทางภูมิศาสตร ( GPS )  บอกตําแหนงจุดตรวจสอบแตละจุดไดอยางแมนยํา  ซึ่งสามารถอางอิงได

               กับแผนที่ภูมิประเทศ  มาตราสวน 1 : 50,000

                                     3.3  การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงรายตําบลของแตละจังหวัด

                              (4)  สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database ) โดยการนําเขาขอมูลทั้งในรูป
               แผนที่  จุดพิกัด  พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม  เพื่อสรางฐานขอมูลในการวิเคราะห

               พื้นที่ปลูก พื้นที่ความเหมาะสมของดิน กลุมชุดดิน และประเมินผลผลิต ดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  ( GIS )

               ดังนี้

                                     4.1 ฐานขอมูลเชิงพื้นที่  ( Spatial data ) ประกอบดวย
                                         - แผนที่พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงรายตําบลของแตละจังหวัดทั้ง  25  จังหวัด

                                         - แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล

                                         - แผนที่เสนทางคมนาคม

                                         - พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )

                                     4.2  ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ  ( Attribute data )    เปนการกําหนดคุณลักษณะของ

                                         แผนที่นําเขาแตละ
               ประเภทขอมูลจากนั้นสรางความสัมพันธระหวางฐานขอมูลทั้งสอง   เพื่อเตรียมความพรอมในการวิเคราะหในระบบ

               สารสนเทศภูมิศาสตรตอไป

                              (5)   จัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูก   จากฐานขอมูล  สามารถนํามาวิเคราะหหาพื้นที่ปลูกถั่ว

               เหลืองฤดูแลง  พรอมทั้งแสดงรายละเอียดเปนรายตําบลของทุกจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูก

                              (6) การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของถั่วเหลืองฤดูแลง โดย
               รวบรวมขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ (รวมพันธุ)  ในแตละตําบลแลวหาคาเฉลี่ย  จากนั้นจึงนําไป

               คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ  ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย  ทําไดโดยการรวมกับ

               ตําบลอื่นๆ  ที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย  สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบใชคาเฉลี่ยของตําบล

               ขางเคียงหรือจากคาผลผลิตเฉลี่ยระดับอําเภอของกรมสงเสริมการเกษตรปการเพาะปลูก2547/48

                               (7) การวิเคราะหและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร        นําขอมูลผลผลิตเฉลี่ย
               รายตําบลที่ไดจากการรวบรวมขอมูลภาคสนามในแตละจังหวัด      และแผนที่พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงสูระบบ

               สารสนเทศภูมิศาสตรเพื่อวิเคราะหพื้นที่ปลูกและประเมินผลผลิตถั่วเหลืองในพื้นที่  25 จังหวัดเปนรายตําบล โดย

               วิธีซอนทับทางคณิตศาสตรแบบ Intersection  ดวยแผนที่เขตการปกครองระดับตําบลที่นําเขาสูระบบสารสนเทศ

               เรียบรอยแลวผลการวิเคราะหและประมวลผลจะทําใหไดพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมเปนรายตําบลของแตละจังหวัด
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21