Page 11 - การสำรวจและคาดการณ์ผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแล้ง ปีการผลิต 2549 โดยใช้เทคโนโลยีการสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 11

รายงานการสํารวจและคาดการณผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแลง ปการผลิต 2549

                           โดยใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร


               1. คํานํา

                      ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ตั้งแตฉบับที่ 1 - 4  ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองไมถึง

               หนึ่งลานไร ตอมาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 กระทรวงเกษตรและสหกรณ มีโครงการ
               เพิ่มผลผลิตและลดตนทุนการผลิตถั่วเหลือง  ทําใหพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองขยายเพิ่มขึ้น  และปการผลิต 2548  มี

               พื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงทั้งหมด 657,869  ไร  ปริมาณ 166,675.49   ตัน  แตในป 2549  ราคาถั่วเหลือง

               ภายในประเทศต่ําลง ในขณะที่พืชแขงขันชนิดอื่นมีแนวโนมราคาสูงขึ้น ประกอบกับเกษตรกรมักประสบปญหาภัย

               ธรรมชาติ ทําใหเกษตรกรหันไปปลูกพืชอื่นทดแทน เปนสาเหตุใหพื้นที่และผลผลิตถั่วเหลืองมีแนวโนมลดลง สงผล
               ใหผลผลิตถั่วเหลืองที่ไดในประเทศไมเพียงพอกับความตองการ  ในแตละปประเทศไทยตองนําเขาถั่วเหลืองและ

               ผลิตภัณฑเปนปริมาณมาก   โดยในเดือนมีนาคม  พ.ศ. 2549  ประเทศไทยนําเขาถั่วเหลือง  แยกเปนผลผลิตของ

               เมล็ดถั่วเหลือง 25,352  ตัน   และกากถั่วเหลือง 123,787  ตัน   แตสามารถสงออกไดเพียง 123  ตันเทานั้น

               (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2549)  จึงจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศไทยจะตองมีการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
               การผลิตทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ     เนื่องจากผลผลิตเฉลี่ยตอไรของทั้งประเทศยังอยูในระดับต่ําเมื่อเทียบกับ

               ผลผลิตโลกเพื่อใหสามารถเพิ่มผลผลิตใหเพียงพอและสงออกไปขายไดมากขึ้น   การมีฐานขอมูลดานการผลิตและ

               การจัดการที่มีประสิทธิภาพ  จะเปนยุทธศาสตรในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต  การใชเทคโนโลยีการสํารวจ

               ระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร  ในการรวบรวมจัดเก็บและวิเคราะหเพื่อประเมินพื้นที่ปลูกและผลผลิต

               กอนฤดูกาลเก็บเกี่ยว   เปนทางเลือกหนึ่งของผูบริหารในการกําหนดแนวทางการบริหารและการจัดการดานการ
               ผลิต และการตลาด  เพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดโลกไดอยางยั่งยืน


               2. วัตถุประสงค

                      1)  เพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีการสํารวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร วิเคราะหพื้นที่ปลูก

                           ของถั่วเหลืองฤดูแลง ทั่วประเทศ

                      2)  เพื่อคาดการณผลผลิตถั่วเหลืองฤดูแลงปการผลิต 2549 เปนรายตําบล

                      3)  เพื่อจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแลงปการผลิต 2549
                      4)  เพื่อจัดทําฐานขอมูลการผลิตถั่วเหลืองฤดูแลงของประเทศ
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16