Page 8 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 8

บทที่ 1



                                                                                  สภาพทั่วไปของพื้นที่




                            จังหวัดสุรินทรมีพื้นที่ทั้งหมด 5,077,535  ไร   แตมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูกขาว

                    ประมาณ 2,511,904  ไร  หรือรอยละ 49.47  ของพื้นที่จังหวัดฯ   สําหรับปการเพาะปลูก 2545/46

                    ทางจังหวัดไดริเริ่มสงเสริมใหเกษตรกรปลูกขาวขาวดอกมะลิ 105   เพื่อมุงสูมาตรฐานเกษตรอินทรีย
                    โดยปลูกในเนื้อที่ประมาณ 105,000 ไร  เปนพื้นที่นํารอง  และปลูกระบบขาวปลอดสารพิษ  สวนปการเพาะปลูก

                    2546/47 ไดมีการขยายผลโดยปลูกเปนขาวปลอดสารพิษในเนื้อที่ประมาณ 123,652 ไร  และปลูกขาวอินทรีย

                    ในเนื้อที่ประมาณ 91,850 ไร (ตารางที่ 2, รูปที่ 1 และ 2)



                            ลักษณะชั้นความเหมาะสมของดินในจังหวัดสุรินทร


                            1.  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมดีสําหรับปลูกขาว  มีขอจํากัดเล็กนอยที่ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา

                    ชั้นความเหมาะสม 2n  (กลุมชุดดินที่ 1, 4, 5, 6, 7, 6/17, 16)

                               ลักษณะและสมบัติดิน

                               เปนกลุมดินเหนียวสีเทาลึกมากที่เกิดจากตะกอนลําน้ํา  มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงคอนขาง
                    ราบเรียบ ดินบนเปนดินเหนียวสีน้ําตาลหรือสีเทา ดินลางเปนดินเหนียวสีเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลือง

                    หรือสีแดงของศิลาแลงออน  การระบายน้ําของดินเลวถึงคอนขางเลว  ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                    (บางพื้นที่มีความอุดมสมบูรณของดินปานกลาง)  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนดางเล็กนอยและ
                    มีน้ําทวมขังในฤดูฝน

                               ปญหาการใชประโยชนที่ดิน

                               ดินมีโครงสรางแนนทึบ เมื่อหนาดินแหงจะแข็งไถพรวนยาก ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา
                    บางพื้นที่ขาดแคลนน้ํานาน  เนื่องจากสภาพพื้นที่คอนขางสูง  มีน้ําทวมขังในฤดูฝน  ทําความเสียหายกับ

                    พืชที่ไมชอบน้ํา

                               แนวทางการจัดการ

                               การปลูกขาว  ไถพรวนดินในขณะที่ดินมีความชื้นที่เหมาะสมและที่ระดับความลึกแตกตางกันไป

                    ในแตละป เพื่อปองกันการเกิดชั้นดานแข็งใตชั้นไถพรวน ปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ เชน ไถกลบตอซัง
                    อัตรา 1-2  ตัน/ไร  ปลอยไว 3-4  สัปดาห  หรือหวานเมล็ดพันธุพืชปุยสด  โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดีย

                    อัตรา 4-6 กิโลกรัม/ไร ไถกลบเมื่ออายุ   50-70 วัน ปลอยไว 1-2 สัปดาห แลวปลูกขาว รวมกับการใสปุย

                    สูตร 16-20-0  และปุยแตงหนาหลังปกดํา 35-45  วัน  พัฒนาแหลงน้ําชลประทานไวใชในชวงที่ขาวขาดน้ํา
                    หรือใชทํานาครั้งที่ 2 ปลูกพืชไร พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเกี่ยวขาว
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13