Page 3 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 3

คํานํา








                            ในปจจุบันความสนใจในเรื่องความปลอดภัยของสินคาเกษตรและอาหารมีเพิ่มมากขึ้น   เนื่องจาก

                    พิษภัยของการใชสารเคมีทางการเกษตรอยางไมถูกตอง  กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและคุณภาพชีวิต
                    ของมนุษย   รัฐบาลจึงไดประกาศให  ป 2547  เปนปแหงความปลอดภัยดานอาหาร   มีการรณรงคและ

                    สงเสริมใหผูผลิต   ผูประกอบการสินคาเกษตรและอาหารไดตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีที่ใชทาง

                    การเกษตรที่ไดสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชีวิตมนุษย   โดยการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิต
                    ระบบการเกษตรเคมีเปนเทคโนโลยีชีวภาพมากขึ้น  อีกทั้งการประชุมคณะรัฐมนตรี  วันที่ 22 มิถุนายน 2547

                    นายกรัฐมนตรีไดมอบหมายใหหนวยงานที่เกี่ยวของเรงการผลิตและการรณรงคการใชปุยอินทรียหรือ

                    ปุยชีวภาพใหแพรหลาย  โดยใหถือวาเรื่องนี้เปนวาระแหงชาติที่สําคัญเรงดวนที่ตองทําใหเปนรูปธรรม

                    โดยเร็ว
                            กรมพัฒนาที่ดินจึงเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณไดดําเนินการสนับสนุน

                    นโยบายของรัฐบาลดังกลาวขางตน   และนโยบายอาหารปลอดภัยของกระทรวงเกษตรและสหกรณ

                    จึงไดทําการศึกษาพื้นที่ปลูกขาวหอมมะลิอินทรียในจังหวัดสุรินทร   เปนพื้นที่นํารองเพื่อเปนการ
                    สนับสนุนวาระแหงชาติ  การใชปุยชีวภาพและมุงสูระบบการเกษตรแบบยั่งยืน  มั่นคง  มีความปลอดภัย

                    ตอชีวิตไมมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม  ตลอดจนคุณภาพชีวิตที่ดีของเกษตรกร














                                                                                 (นายอรรถ   สมราง)

                                                                                อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
   1   2   3   4   5   6   7   8