Page 10 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 10

3



                    ถาอยูในเขตชลประทานหลังฤดูปลูกขาว  สามารถใชปลูกพืชไร  พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วได  แตไมคอย

                    เหมาะสมที่จะดัดแปลงพื้นที่ไปปลูกพืชไร  พืชผักหรือไมผลอยางถาวร  เนื่องจากขาดแคลนน้ํานานและ
                    เกิดการพังทลายของสันแปลงปลูกไดงาย ในฤดูฝนมีน้ําขัง ทําความเสียหายกับพืชที่ไมชอบน้ํา

                               แนวทางการจัดการ

                               ปลูกขาว ปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ เชน ไถกลบตอซัง อัตรา 1-2 ตัน/ไร ปลอยไว 3-4

                    สัปดาห  หรือหวานเมล็ดพันธุพืชปุยสด  โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดีย  อัตรา 6-8  กิโลกรัม/ไร  ไถกลบ
                    เมื่ออายุ 50-70  วัน  ปลอยไว 1-2  สัปดาห  แลวปลูกขาว  เพื่อชวยเพิ่มความสามารถในการกักเก็บน้ํา

                    ดูดซับและเพิ่มธาตุอาหารใหกับพืชที่ปลูก รวมกับการใชปุยสูตร 16-16-8 และใสปุยแตงหนาหลังปกดํา

                    35-45  วัน  ในพื้นที่ที่มีความลาดชันเล็กนอย  ควรมีการปรับรูปแปลงนา  เพื่อใหมีสภาพพื้นที่ราบเรียบ

                    สามารถกักเก็บน้ําไดสม่ําเสมอตลอดทั้งแปลงปลูกขาว  พัฒนาแหลงน้ําชลประทานไวใชในชวงที่
                    ขาวขาดน้ําหรือใชปลูกพืชไร พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวขาว




                            4.  เหมาะสมปานกลางสําหรับปลูกขาว  มีขอจํากัดปานกลางที่มีเนื้อดินเปนดินรวนปนทราย
                    และขาวขาดแคลนน้ําปานกลาง  ชั้นความเหมาะสม 3sm  (กลุมชุดดินที่ 21)

                               ลักษณะและสมบัติดิน

                               กลุมดินรวนลึกมากที่เกิดจากการทับถมของตะกอนลําน้ําบนบริเวณสองฝงริมแมน้ํา

                    มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงราบเรียบ  ดินบนมีเนื้อดินเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนสีน้ําตาล
                    ดินลางมีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย  ดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวนสีน้ําตาลปนเทา

                    หรือสีเทา  มีจุดประสีเหลือง  สีน้ําตาล  สีเทาหรือสีแดง  การระบายน้ําของดินคอนขางเลวถึงดีปานกลาง

                    ความอุดมสมบูรณของดินปานกลาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลางและมีน้ําทวมขังในฤดูฝน

                               ปญหาการใชประโยชนที่ดิน
                               ดินปนทราย  มีการระบายน้ําของดินคอนขางเลวถึงดีปานกลาง  ปลูกขาวมักจะขาดแคลนน้ํานาน

                    และมีน้ําทวมขังในฤดูฝน ทําความเสียหายกับพืชที่ไมชอบน้ํา ในปที่มีฝนตกชุก มักมีน้ําไหลบาทวมขัง

                    ทําความเสียหายกับพืชที่ปลูก
                               แนวทางการจัดการ

                               การปลูกขาว  เลือกระยะเวลาเพาะปลูกใหเหมาะสมกับฤดูกาล  และทําคันนาใหสูง  พรอม

                    ปรับสภาพพื้นที่ใหราบเรียบ เพื่อชวยกักเก็บน้ําใหมาก สม่ําเสมอและเพียงพอตลอดฤดูปลูก ปรับปรุงดิน
                    ดวยอินทรียวัตถุ เชน ไถกลบตอซังอัตรา 1-2 ตัน/ไร ปลอยไว 3-4 สัปดาห หรือหวานเมล็ดพันธุพืชปุยสด

                    โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดียอัตรา 6-8  กิโลกรัม/ไร  ไถกลบเมื่ออายุ 50-70  วัน  ปลอยไว 1-2  สัปดาห

                    แลวปลูกขาว รวมกับการใสปุยสูตร 16-16-8 และใสปุยแตงหนาหลังปกดํา 35-45 วัน มีระบบการใหน้ํา

                    ไวใชในชวงที่ขาวขาดน้ํา หรือทํานาครั้งที่ 2 ปลูกพืชไร พืชผักหรือพืชตระกูลถั่วหลังเก็บเกี่ยวขาว
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15