Page 12 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 12

5



                               ปญหาการใชประโยชนที่ดิน

                               ดินตื้นที่มีกอนกรวดหรือลูกรังปริมาณมากภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ทําให
                    เปนอุปสรรคตอการไถพรวนและการชอนไชของรากพืช  ขาดแคลนน้ํานาน  ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา

                    ไมเหมาะสมที่จะดัดแปลงพื้นที่เพื่อใชปลูกพืชไร  พืชผักหรือไมผลอยาถาวร  เนื่องจากมีชั้นลูกรังหรือ

                    กอนกรวดตื้น และเปนชั้นหนา   มีน้ําทวมขังในฤดูฝน ทําใหเสียคาใชจายสูงในการดัดแปลงพื้นที่และ

                    ปรับปรุงดิน
                               แนวทางการจัดการ

                               การปลูกขาว เลือกพื้นที่เพาะปลูกที่มีหนาดินหนามากกวา 25 เซนติเมตร ปรับปรุงดินดวย

                    อินทรียวัตถุ เชน ไถกลบตอซัง อัตรา 1-2 ตัน/ไร ปลอยทิ้งไว 3-4 สัปดาห หรือหวานเมล็ดพันธุพืชปุยสด

                    โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดียอัตรา 6-8  กิโลกรัม/ไร  ไถกลบเมื่ออายุ 50-70  วัน  ปลอยไว 1-2  สัปดาห
                    แลวปลูกขาว รวมกับการใชปุยสูตร 16-16-8 และใสปุยแตงหนาหลังปกดํา 35-40 วัน พัฒนาแหลงน้ํา

                    และระบบการใหน้ําไวใชในชวงที่ขาวขาดน้ําหรือใชทํานาครั้งที่ 2 ปลูกพืชไร พืชผักหรือพืชตระกูลถั่ว

                    หลังเก็บเกี่ยวขาว



                            7.  พื้นที่ที่ไมเหมาะสมสําหรับปลูกขาว  มีขอจํากัดรุนแรงมากที่ดินมีการระบายน้ําดีถึงดีปาน

                    กลาง ไมสามารถเก็บน้ําได (กลุมชุดดินที่ 28, 41C, 40B, 40B/41B, 40B/49B, 41B, 49B, 56B, 33, 35,

                    35/49, 38, 40, 40/41, 40/49, 40/60, 41, 49, 49/56, 56, 40/40B, 40C, 40C/40D/RL, 40C/RL, 40D/RL,
                    40E/RL, 44B/RL, 44C, 44C/RL, 44D/RL, 44E/RL, 45, 46B/RL, 46C/RL, 46D/RL, 56C, 56C/RL, 62)

                               กลุมชุดดินที่มีการระบายน้ําของดินดีถึงดีปานกลาง มีเนื้อดินเปนดินเหนียว ดินรวนปนดินเหนียว

                    ดินรวนปนทราย  ดินทราย  ดินลึก  ดินลึกปานกลาง  ดินตื้น  พื้นที่หินโผลและพื้นที่ลาดชันเชิงซอน
                    มีความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชไร พืชผัก ไมผลและไมยืนตน




                            8.  พื้นที่ไมคอยเหมาะสมสําหรับปลูกขาว   มีขอจํากัดรุนแรงที่ขาวขาดแคลนน้ํารุนแรงและ

                    มีการทําคันดินกักเก็บน้ํา  (กลุมชุดดินที่ 17hi, 35b, 56b)
                               กลุมชุดดินที่มีการระบายน้ําของดินดีถึงดีปานกลาง  มีเนื้อดินเปนดินรวนเหนียวปนทราย

                    ลึกมาก  ลึกปานกลาง  มีการทําคันดินกักเก็บน้ําและปรับพื้นที่ใหราบเรียบสําหรับปลูกขาว  เพื่อใหมี

                    การกักเก็บน้ําไดสม่ําเสมอในแปลงปลูก  การปลูกขาวมักขาดแคลนน้ํานานในบางชวงเวลาการเจริญเติบโต
                    และดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา  ไมเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชที่ไมชอบน้ําขัง  เนื่องจากมีน้ําทวมขัง

                    ในฤดูฝน

                               ลักษณะและสมบัติดินโดยทั่วไปเหมือนขอ 7 แตมีการปรับพื้นที่และทําคันน้ํา สําหรับกักเก็บน้ํา

                    เพื่อปลูกขาว
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17