Page 24 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 24

15



                            ปการเพาะปลูก 2546/47  ไดมีการผลิตขาวเพื่อมุงสูมาตรฐานระบบอินทรีย 2  ระบบ   คือ

                    ระบบเกษตรอินทรียและระบบเกษตรปลอดสารพิษ  เปรียบเทียบกับ  เกษตรเคมี

                            เกษตรกรสวนใหญทํานาเปนแบบนาหวาน  โดยทํานาใน ระบบเกษตรอินทรีย  มีการใชปุยอินทรีย
                    และสารอินทรีย  เทากับ 103.05  และ 46.47  บาทตอไร   ตามลําดับ   ซึ่งรวมตนทุนทั้งหมดเทากับ

                    1,315.88  บาทตอไร  ไดรับผลผลิต  412.05  กิโลกรัมตอไร  ขายไดราคา  7.96  บาทตอกิโลกรัม  มูลคา

                    ผลผลิตเทากับ  3,279.89  บาทตอไร  ดังนั้นเกษตรกรมีรายไดสุทธิเทากับ  1,964.01  บาทตอไร  สําหรับ

                    ระบบเกษตรปลอดสารพิษ  เกษตรกรใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียเทากับ  318.30  และ 50.00  บาทตอไร
                    ตามลําดับ  ซึ่งรวมตนทุนทั้งหมดเทากับ  1,489.28  บาทตอไร  ไดรับผลผลิต  375.19  กิโลกรัมตอไร

                    ขายไดราคา  7.18  บาทตอกิโลกรัม  มูลคาผลผลิตเทากับ  2,693.88  บาทตอไร  ดังนั้นเกษตรกรมีรายไดสุทธิ

                    เทากับ  1,204.60  บาทตอไร  สวน ระบบเกษตรเคมี  เกษตรใชปุยเคมีรวมกับปุยอินทรียเทากับ  438.80
                    และ 38.02  บาทตอไร  ตามลําดับ  รวมตนทุนทั้งหมดเทากับ 1,668.61 บาทตอไร  ไดรับผลผลิต 370.96

                    กิโลกรัมตอไร  ขายไดราคา 6.84 บาทตอกิโลกรัม  มูลคาผลผลิตเทากับ 2,537.38 บาทตอไร  ดังนั้น

                    เกษตรกรมีรายไดสุทธิเทากับ 868.77 บาทตอไร (ตารางที่  4)




                            สรุป
                            จากการศึกษาพบวาในปการเพาะปลูก 2546/47   ระบบเกษตรอินทรีย  ไดรับผลผลิตสูงเทากับ

                    412.05  กิโลกรัมตอไร   ซึ่งสูงกวาทุกระบบการเพาะปลูกเปนเพราะพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105  เปนพันธุที่

                    ไวตอชวงแสง  มีการตอบสนองตอปุยเคมีต่ํา  และมีความตองการธาตุอาหารต่ําถึงปานกลาง  ดังนั้นปริมาณ
                    ธาตุอาหารที่ตกคางอยูในดินและที่ไดจากการยอยสลายของการไถกลบตอซังก็เพียงพอตอความตองการ

                    ของขาว   ในกรณีที่มีการใสปุยเคมีเพิ่มทําใหเกิดการเสียสมดุลของปริมาณธาตุอาหารในดิน   ขาวจึง

                    ไมสามารถดูดใชธาตุอาหารไดเต็มที่จึงทําใหไดรับผลผลิตต่ํากวาแปลงที่ไมใชปุยเคมี   สําหรับในสวน
                    ของเกษตรอินทรียมีตนทุนการผลิตต่ํา  เฉลี่ยเทากับ  1,315.88  บาทตอไร  ดังนั้นจะไดรายไดสุทธิเทากับ

                    1,964.01  บาทตอไร  ซึ่งสูงกวาทุกระบบการเพาะปลูก (ตารางที่ 5)  ฉะนั้นจากเหตุผลดังกลาวเกษตรกร

                    ควรเปลี่ยนระบบการเพาะปลูกจากเกษตรเคมีและปลอดสารพิษมาเปนระบบเกษตรอินทรียเพื่อความ

                    ปลอดภัยแกผูบริโภค   และเพื่อสนับสนุนกระทรวงเกษตรและสหกรณที่ไดประกาศเปนปอาหารปลอดภัย
                    ที่สําคัญที่สุดคือ  สนับสนุนวาระแหงชาติการใชปุยชีวภาพ
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29