Page 20 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 20
บทที่ 2
การผลิตขาวเพื่อมุงสูมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย
เกษตรอินทรียเกิดมาพรอมกับวิวัฒนาการของมนุษยชาติ ตั้งแตสมัยเริ่มแรกที่มนุษยรูจักวิธี
การเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตวเมื่อประมาณ 10,000 ปมาแลว โดยอาศัยหลักการพึ่งพิงธรรมชาติและ
หมุนเวียนการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนสูงสุด แตเกษตรอินทรียสมัยใหม
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตรเขามาชวย เริ่มตนครั้งแรกในทวีปยุโรปเมื่อป 2479 โดยเซอรอัลเบิรต โฮเวิรด
ไดเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเกษตรอินทรียในหนังสือเรื่องคัมภีรการเกษตร (An Agricultural Testament)
เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2483 โดยกลาวถึงหลักทําเกษตรอินทรียไว 7 ประการ คือ
1. สุขภาพที่ดีเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทั้งปวง
2. สุขภาพที่ดีตองใชไดกับทั้งดิน พืช สัตว และมนุษย ซึ่งจะมีความสัมพันธตอกันอยาง
หลีกเลี่ยงไมได
3. ความออนแอที่เกิดขึ้นกับหวงโซอาหารแรกคือ ดิน จะสงผลกระทบตอหวงโซอาหารที่อยู
ลําดับสูงขึ้นไปตามลําดับจนถึงมนุษยซึ่งอยูบนสุด
4. การระบาดของโรคแมลงตอพืชและสัตวในระบบการเกษตรสมัยใหม คือปญหาในหวงโซ
อาหารที่สองและสาม
5. ปญหาสุขภาพของมนุษยเปนผลมาจากหวงโซอาหารที่สองและสาม
6. สุขภาพที่ไมดีของพืช สัตว และมนุษย เปนผลตอเนื่องมาจากสุขภาพที่ไมดีของดิน
7. การยอมรับกฎและบทบาทของธรรมชาติโดยสํานึกถึงปญหาที่เกิดขึ้นจะทําใหเกิดการ
ปรับเปลี่ยนการพัฒนาใหถูกตองโดยไมยาก ทั้งนี้จะตองไมกระทําการใดๆ ที่เปนการรบกวน
ตอกระบวนการสะสมธาตุอาหารในดินที่ดําเนินการโดยจุลินทรียในดิน
การผลิตขาวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย ในจังหวัดสุรินทร มี 2 ระบบคือ
1. ระบบเกษตรอินทรีย หมายถึง ระบบการผลิตที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม รักษาสมดุลของ
ธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีระบบการจัดการนิเวศนวิทยาที่คลายคลึงกับธรรมชาติ
และหลีกเลี่ยงการใชสารสังเคราะหไมวาจะเปนปุยเคมี สารเคมีกําจัดศัตรูพืชและฮอรโมนตางๆ ตลอดจน
ไมใชพืชและสัตวที่เกิดจากการตัดตอพันธุกรรมที่อาจกอใหเกิดมลพิษในสภาพแวดลอมในการใช
อินทรียวัตถุ เชน ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด และปุยชีวภาพ ในการปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ
เพื่อใหตนพืชมีความแข็งแรงสามารถตานทางโรคและแมลงไดดวยตนเอง รวมถึงการนําเอาภูมิปญญา
ชาวบานมาใชประโยชนดวย ผลผลิตที่ไดจะปลอดภัยจากอันตรายของสารพิษตกคาง ทําใหปลอดภัย
ทั้งผูผลิต ผูบริโภค และไมทําใหสภาพแวดลอมเสื่อมโทรมลงอีกดวย (กรมวิชาการเกษตร)