Page 23 - ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ในพื้นที่นำร่องจังหวัดสุรินทร์ สนับสนุนวาระแห่งชาติการใช้ปุ๋ยชีวภาพ
P. 23

บทที่ 3



                                                                   การผลิตขาวอินทรียในพื้นที่นํารอง




                            การผลิตขาวอินทรียในพื้นที่นํารองจังหวัดสุรินทรโดยใชพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105  ที่มี

                    ลักษณะจําเพาะในกระบวนการผลิต   ในขณะเดียวกันกิจกรรมการผลิตขาวอินทรียจะมีความเกื้อหนุน

                    กับคุณภาพสิ่งแวดลอมในแหลงผลิต  ในที่นี้จะนําเสนอการใชปจจัยการผลิตที่เกี่ยวของ  ทั้งนี้จะเปนการให
                    ขอมูลทั้งการทําเกษตรอินทรีย  เกษตรปลอดสารพิษ  และเกษตรเคมี  รวมถึงการแสดงการเปรียบเทียบ

                    ผลิตภาพของการผลิตตอหนวยพื้นที่  ตลอดจนตนทุนและผลตอบแทนในการผลิต



                            รูปแบบการใชปจจัยการผลิตขาวอินทรีย

                            ในโครงการนํารองของจังหวัดฯ  ไดมีการสงเสริมเพื่อมุงสูมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย

                    โดยเริ่มปการเพาะปลูก 2545/46 ไดมีเกษตรกรเขารวมโครงการประมาณ  350  หมูบาน  มีเนื้อที่เพาะปลูก

                    ประมาณ 105,000  ไร   โดยผลิตขาวปลอดสารพิษเพียงระบบเดียว   สวนปการเพาะปลูก 2546/47
                    ไดมีการขยายผลทําเปนระบบเกษตรอินทรียโดยมีเกษตรกรเขารวมโครงการประมาณ 825  หมูบาน

                    แยกเปน  ระบบเกษตรอินทรีย  มีเนื้อที่เพาะปลูกประมาณ 91,850  ไร  และ  ระบบเกษตรปลอดสารพิษ

                    มีเนื้อที่เพาะปลูกประมาณ 123,652 ไร (สถานีพัฒนาที่ดินสุรินทร)

                            การนําเสนอในสวนตอไปนี้จะนําเสนอการใชปจจัยการผลิตและรูปแบบการผลิต  พรอมทั้ง
                    วิเคราะหเปรียบเทียบผลผลิตและตนทุนผลตอบแทนในระบบการผลิตตางๆ   ในปการเพาะปลูก

                    2545/46 และ 2546/47

                            ปการเพาะปลูก 2545/46  ไดมีการผลิตขาวเพื่อมุงสูมาตรฐานระบบอินทรียมีเพียง 1  ระบบ
                    โดยจะเปรียบเทียบกับเกษตรเคมี

                            เกษตรกรสวนใหญทํานาเปนแบบนาหวาน  โดยทําใน ระบบเกษตรปลอดสารพิษ  มีการใชปุยอินทรีย

                    และสารอินทรีย  เทากับ 382.69 และ 0.19 บาทตอไร ตามลําดับ  สวนปุยเคมีและสารเคมีไมมีการใช

                    ซึ่งรวมตนทุนทั้งหมดเทากับ  1,707.78 บาทตอไร  ไดรับผลผลิต 341.47 กิโลกรัมตอไร  ขายไดราคา
                    6.26 บาทตอกิโลกรัม  มูลคาผลผลิตเทากับ 2,138.04  บาทตอไร  ดังนั้นเกษตรกรมีรายไดสุทธิเทากับ

                    430.26 บาทตอไร  สําหรับ ระบบเกษตรเคมี  เกษตรกรใชปุยเคมีและสารเคมีเทากับ 237.41 และ 7.79 บาทตอไร

                    ตามลําดับ   และมีการใชปุยอินทรียรวมดวยเทากับ 48.52  บาทตอไร   ซึ่งรวมตนทุนทั้งหมดเทากับ

                    1,474.81 บาทตอไร  ไดรับผลผลิตเทากับ 362.79 กิโลกรัมตอไร  ขายไดราคา 5.29 บาทตอกิโลกรัม
                    มูลคาผลผลิตเทากับ 1,919.10  บาทตอไร   ดังนั้นเกษตรกรมีรายไดสุทธิเทากับ 444.29  บาทตอไร

                    (ตารางที่ 3)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28