Page 14 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 14

2-2



                     มีไมมากนัก  อาชีพรองลงมา  ไดแก การเลี้ยงสัตวมีมากที่สุดเฉลี่ยรอยละ  20.75 ของหมูบานทั้งหมด ที่

                     เหลือ ไดแก การทํานา  ทําไร  และพืชผักชนิดตางๆ  สวนอาชีพหลักนอกภาคการเกษตรที่สําคัญ คือ  การ
                     รับจางทั่วไป  อาชีพรองลงมา  ไดแก  การคาขาย  และหัตถกรรมในครัวเรือน  เชน  การทอผาและเย็บผา

                     เปนตน รายไดของประชากรในหมูบานมาจากรายไดทางการเกษตรและรายไดนอกภาคการเกษตร รายไดหลักที่

                     ไดมาจากการเกษตรมากที่สุดคือ  รายไดจากการทํานา  รองลงมา  ไดแก  รายไดจากถั่วเหลือง  ออยโรงงาน

                     ขาวโพดเลี้ยงสัตว  สวนรายไดรองจากการเกษตรสวนใหญเปนรายไดจากการเลี้ยงสัตว  รองลงมา  ไดแก
                     รายไดจากพืชไรและพืชผักชนิดตางๆ  สําหรับรายไดหลักนอกภาคการเกษตรที่สําคัญและทํารายไดใหมาก

                     ที่สุด ไดแก รายไดจากการรับจางทั่วไปและรายไดนอกภาคการเกษตร ไดแก การคาขาย (ตารางที่ 2-3)

                                การถือครองและการใชที่ดินในชุมชน เมื่อพิจารณาการถือครองที่ดินสวนใหญของเกษตรกร

                     ในหมูบานจะมีพื้นที่ทํากินเฉลี่ยครัวเรือนละ 20 ไรขึ้นไป  ซึ่งถือวาเกษตรกรมีเนื้อที่ถือครองขนาดพอ

                     สมควร  เปนการถือครองที่ดินของตนเองมากที่สุดเฉลี่ยรอยละ 81.26 ของชุมชน รองลงเปนที่เชาเฉลี่ยรอย
                     ละ 16.04  และที่เขาทําเปลามีการถือครองนอยที่สุดเฉลี่ยเพียงรอยละ 2.70  ของชุมชน  หนังสือสําคัญในที่ดิน

                     สวนใหญรอยละ 47.96 จะเปนโฉนด รองลงมา ไดแก น.ส.3ก./น.ส.3  นอยที่สุด ไดแก ส.ค.1 มีเพียงรอยละ

                     0.47  พืชที่ปลูกบางชนิดมีวัตถุประสงคเพื่อการบริโภค  และเพื่อการคาดวยทั้งสองอยาง  เชน  ขาว  ไมผล

                     และพืชผัก  สําหรับพืชบางชนิดปลูกเพื่อการคาเพียงอยางเดียว  ไดแก  ถั่วเหลือง  ออยโรงงาน  ขาวโพด
                     เลี้ยงสัตว ยาสูบ เปนตน ซึ่งพืชเหลานี้จะขายทั้งที่บาน ที่โรงงาน หรือที่ตลาดแลวแตขอตกลง     ทั้งสองฝาย

                     ระหวางผูผลิตและผูซื้อ สวนการเลี้ยงสัตวจะมีวัตถุประสงคทั้ง 2 อยาง คือ ทั้งเพื่อการบริโภคและเพื่อการ

                     คาควบคูกันไปไมวาจะเปนโค กระบือ สุกร ไก ปลา เปนตน (ตารางที่ 2-4 – 2-5)

                                ภาวะหนี้สินของชุมชน  จากการศึกษาพบวามีแหลงสินเชื่อและเงินทุนทั้งที่เปนสถาบันและ

                     ไมใชสถาบัน   ในสวนของแหลงเงินทุนที่เปนสถาบัน  ไดแก  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ  ที่มี

                     ประชากรเปนสมาชิกและใชบริการมากที่สุดรอยละ  72.34  รองลงมาคือ กองทุนหมูบานรอยละ 44.36  และ
                     กลุมตางๆ  ที่จัดตั้งขึ้นในหมูบานรอยละ  26.20  นอยที่สุด  ไดแก  กลุมสหกรณ  สําหรับแหลงเงินทุนที่ไม

                     ใชสถาบันไดแก เพื่อนบาน ญาติพี่นอง และพอคานายทุนทั่วไป (ตารางที่ 2-6)


                                โครงสรางสาธารณูปโภคของหมูบาน  พบวาสวนใหญมีโครงสรางของถนนภายในหมูบานรวม
                     ถึงถนนเชื่อมระหวางหมูบานกับอําเภอเปนถนนลาดยางและลูกรัง มีสภาพใชงานไดเกือบตลอดป ยกเวน

                     บางแหงบางชวงยังเปนลูกรัง  การเดินทางไมสะดวกแตก็สามารถใชงานได  การใชน้ําเพื่อการบริโภคของ

                     ประชากรในแตละหมูบาน จะใชน้ําจากแหลงตางๆ โดยเฉพาะใชน้ําประปาหมูบานกันมากที่สุด
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19