Page 15 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 15

2-3



                     รองลงมาไดแก น้ําฝน น้ําบอบาดาล  ตามลําดับ  นอยที่สุดไดแกแหลงน้ําตามธรรมชาติ  ปริมาณน้ํามีใช

                     พอเพียงตลอดป  ไมขาดแคลน  บางแหงมากเกินพอจนกอใหเกิดความเดือดรอนอยางมาก เพราะน้ําทวมทุก
                     ปโดยเฉพาะพื้นที่ในจังหวัดสุโขทัย และจังหวัดพิจิตร สวนน้ําใชเพื่อการเกษตรสวนใหญไดจากน้ําฝนซึ่ง

                     ไมพอเพียงตอการเพาะปลูก  ตองอาศัยน้ําจากคลองชลประทานเนื่องมาจากเกษตรกรจะปลูกพืชปละ 2-3

                     ครั้ง  ไฟฟามีใชกันทุกหมูบานและทุกครัวเรือน  โทรศัพทสาธารณะและโทรศัพทสวนบุคคลสวนใหญมีใช

                     แลวเฉลี่ยรอยละ 71.70  และ 81.13  ของหมูบานทั้งหมด  ตามลําดับ  นอกจากนี้หมูบานสวนใหญยังมี
                     สถานบริการในดานตางๆ  อยูแทบทุกหมูบาน  ทั้งโรงเรียนระดับตางๆ  โดยเฉพาะโรงเรียนระดับประถมศึกษา

                     มีมากที่สุดเฉลี่ยรอยละ 83.33  สถานบริการดานสาธารณสุขก็มีทั้งสาธารณสุขมูลฐานชุมชนตั้งอยูมีกองทุนยา

                     และเวชภัณฑประจําหมูบาน  สถานีอนามัย  ตลอดจนโรงพยาบาล   สวนศาสนสถานก็จะมีวัดอยูเปน
                     จํานวนมากเกือบทุกหมูบาน  ในสวนของสถานบริการอื่นๆ  ที่มีอยูไดแก  หอกระจายขาว  ที่อานหนังสือพิมพ

                     ประจําหมูบาน  หอสมุด  ฯลฯ  เปนตน (ตารางที่ 2-7)

                                องคกรพัฒนาการเกษตรในหมูบาน     ในแตละหมูบานจะมีองคกรในหมูบานประมาณ 1-5

                     องคกร  ซึ่งจะแตกตางกันออกไปแลวแตการจัดตั้งขึ้นของสมาชิกภายในหมูบานนั้นๆ  องคกรที่มีสวนใหญ

                     ไดแก กลุมแมบาน กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพย กองทุนแกไขปญหาความยากจนของราษฎร นอก

                     จากนั้นก็จะเปนกลุมตางๆ  ที่บางหมูบานอาจจะมีหรือบางหมูบานอาจจะไมมี  ก็แลวแตวัตถุประสงคของหมู
                     บานที่แตกตางกันออกไป  สําหรับองคกรในชุมชนที่มีผลตอการพัฒนาการเกษตรกรมากคือ  ศูนยถายทอด

                     เทคโนโลยีทางการเกษตรซึ่งมีนอยไมครบทุกหมูบาน  ขณะที่จุดประสงคหลักของรัฐบาลในการจัดตั้งศูนยนี้

                     ตองการใหมีครบทุกหมูบานทั่วประเทศ จากการสํารวจหมูบาน 53 หมูบานในเขตลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอน

                     ลางพบวามีศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรอยูเพียง 18  ศูนย  หรือคิดเปนรอยละ 33.96  ของหมู
                     บานทั้งหมด สวนอีก 35 หมูบานหรือรอยละ 66.04 ยังไมมีศูนยนี้  แตในรอบปการผลิตที่ผานมาศูนยถาย

                     ทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรไดจัดใหมีการอบรมทางการเกษตรตลอดจนอบรมในดานการประกอบ

                     อาชีพนอยมาก   สวนใหญของการอบรมปละ 1-2 ครั้งมากที่สุดรอยละ 61.54  และจํานวนคนที่เขาอบรมแต
                     ละครั้งจะมีอยูประมาณ 1-40  คน   เปนสวนใหญ  ทั้งนี้แลวแตชนิดของการอบรม  ถาใหความรูและเปน

                     ประโยชนโดยตรงกับการประกอบอาชีพ  ก็จะมีผูเขารับการอบรมเปนจํานวนมาก (ตารางที่ 2-8)

                                ปญหาชนิดตางๆ  ในหมูบาน ปญหาที่เกิดขึ้นในแตละหมูบานสามารถสรุปชนิดของปญหา

                     หลักได 3 ชนิด ไดแก ปญหาทางดานการเกษตร ปญหาทางดานสังคม และปญหาดานสิ่งแวดลอม ในสวน

                     ของปญหาทางดานการเกษตร  จะพบวาลักษณะของปญหาจะเกี่ยวของกับการผลิตพืชทางการเกษตรโดยทั่วไป

                     ไมวาจะเปนเกษตรกรในทองที่ไหนก็ตาม  เพียงแตจะใหความสําคัญถึงปญหาใดมากที่สุด  ปญหาที่สําคัญ
                     ของชุมชนจากการสํารวจ ไดแก  ปญหาจากศัตรูพืชรบกวน เฉลี่ยรอยละ 86.79 ของชุมชน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20