Page 9 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 9

บทที่ 1

                                                              บทนํา



                     1.1 หลักการและเหตุผล


                                ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง มีเนื้อที่ทั้งสิ้น  7,010,875 ไร หรือ 11,217.40 ตารางกิโลเมตร คิด
                     เปนรอยละ 45 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมทั้งหมด ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 15,506,431 ไร ลุมน้ําสาขา

                     แมน้ํายมตอนลางครอบคลุมพื้นที่ 7  จังหวัด  ไดแก  จังหวัดแพร  อุตรดิตถ  สุโขทัย  พิษณุโลก  พิจิตร

                     กําแพงเพชร  และนครสวรรค  สวนที่กวางและมีเนื้อที่ผืนใหญสุดอยูในเขต 3  จังหวัดติดตอกัน  ไดแก
                     จังหวัดสุโขทัย พิจิตร และนครสวรรค

                                โดยในอดีตที่ผานมาพื้นที่ลุมน้ํามีสภาพทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ   ทั้งทรัพยากร

                     ปาไม ทรัพยากรน้ําและทรัพยากรดิน ในปจจุบันทรัพยากรเหลานี้ไดเริ่มมีการบุกรุกและถูกนํามาใชประโยชน
                     โดยขาดความระมัดระวัง  ขาดการควบคุมดูแลและขาดการจัดการทรัพยากรที่ดีอยางมีประสิทธิภาพ  ซึ่ง

                     ตอไปในอนาคตถายังไมมีการควบคุมดูแลและจัดการอยางจริงจังแลว จะทําใหทรัพยากรเหลานี้เสื่อมโทรมลง

                     อยางรวดเร็วกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอมและระบบนิเวศนอยางมาก  ดังนั้นเพื่อใหมีการใชที่
                     ดินและแกปญหาทรัพยากรไดอยางถูกตอง  จึงตองมีการวางแผนการใชที่ดินระดับลุมน้ําอยางเปนระบบ

                     โดยคํานึงถึงความสัมพันธ  และความสมดุลยระหวางทรัพยากรธรรมชาติอันมีผลกระทบซึ่งกันและกัน

                     เพื่อใหมีการใชที่ดินและทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและยาวนานตลอดจนเสริมสรางชีวิต

                     เศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในพื้นที่   ในการวางแผนการใชที่ดินมีความจําเปนอยางมากที่จะตองใชขอ
                     มูลดานเศรษฐกิจและสังคมเปนแนวทางในการวางแผนตลอดจนใชขอมูลพื้นฐานในดานตางๆ       ทั่วไป

                     ประกอบการพิจารณากําหนดแผนการใชที่ดิน  และกําหนดทางเลือกการใชประโยชนที่ดินเพื่อใหสอดคลอง

                     กับศักยภาพที่ดินและทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดในปจจุบัน โดยคํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมของ

                     พื้นที่เปนสําคัญ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการใชทรัพยากรในพื้นที่ลุมน้ําไดอยางยั่งยืน

                     1.2  วัตถุประสงค

                         1.2.1 เพื่อศึกษาถึงลักษณะทั่วไปและปญหาของชุมชน

                        1.2.2 เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐานดานเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนเกษตร

                         1.2.3 วิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนของประเภทการใชประโยชนที่ดิน

                     1.3  ระยะเวลาดําเนินการ


                         1.3.1  เตรียมงานและเก็บรวบรวมขอมูลตั้งแตเดือนมกราคม  พ.ศ. 2545  ถึงเดือนมีนาคม  พ.ศ. 2545

                         1.3.2  สํารวจขอมูลภาคสนามตั้งแตเดือนเมษายน  พ.ศ. 2545  ถึงเดือนมิถุนายน  พ.ศ. 2545
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14