Page 13 - การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำยมตอนล่าง ปีการผลิต 2544/45
P. 13

บทที่ 2


                                                      สภาพทั่วไปของชุมชน



                                การศึกษาสภาพทั่วไปของชุมชนในพื้นที่  จะทําการสํารวจขอมูลจากผูนําชุมชนในแตละ

                     หมูบาน  หมูบานละ 1  ตัวอยาง  ดวยการสอบถามจากกํานัน  ผูใหญบาน ผูนําเกษตรกร หรือองคการบริหาร

                     สวนตําบล  เปนตน สําหรับการศึกษาในเขตลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง ซึ่งมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7
                     ลานกวาไร  หรือรอยละ 45.97  ของเนื้อที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมทั้งหมด  ประกอบดวยพื้นที่บางสวนของ

                     จังหวัดแพร อุตรดิตถ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร กําแพงเพชร และนครสวรรค ไดทําการสํารวจผูนําหมูบาน

                     ทั้งหมด 53 หมูบาน กระจายไปทั่วพื้นที่ของลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลาง ผลของการศึกษามีดังนี้คือ

                                ขอมูลทั่วไปของชุมชน   พื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ํายมตอนลางสวนใหญอยูในเขตจังหวัด 3

                     จังหวัด ไดแก   จังหวัดสุโขทัย พิจิตร  และกําแพงเพชร   ผลของการสํารวจพบวาในแตละหมูบานจะมี

                     ครัวเรือนระหวาง 101-150 ครัวเรือน รอยละ 32.07  รองลงมาจะมีครัวเรือนอยูระหวาง 51-100 ครัวเรือน รอย
                     ละ 24.53  และ  151-200  ครัวเรือน รอยละ 18.87  ตามลําดับ สวนขนาดของครัวเรือนที่อยูระหวาง 251-300

                     ครัวเรือน จะมีนอยที่สุด จํานวนประชากรในแตละหมูบานสวนใหญอยูระหวาง 501-1,000  คน   รอยละ

                     49.06   มีสัญชาติไทยทั้งหมดและสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ   จะมีนับถือศาสนาคริสตอยูบางแตนอยมาก
                     (ตารางที่ 2-1)


                                กําลังแรงงานและอัตราคาจาง กําลังแรงงานของประชากรในหมูบานสวนใหญใชเพื่อทําการ

                     เกษตร  มีบางสวนของประชากรวัยแรงงาน (อายุ 12-60  ป)  ตอประชากรทั้งหมดอยูในชวงรอยละ 80-89
                     มากที่สุดรอยละ  35.85    โดยมีสัดสวนของแรงงานในภาคเกษตรตอแรงงานทั้งหมดอยูในชวงรอยละ

                     80-89 ของประชากรวัยแรงงานทั้งหมด มากที่สุดเชนเดียวกัน


                                กําลังแรงงานภาคการเกษตรของหมูบาน  สวนใหญรอยละ 89.06  มาจากแรงงานภายในหมูบาน
                     เดียวกัน  รองลงมาจะมาจากที่อื่นแตภายในจังหวัดรอยละ  7.74  ที่เหลือจะมาจากภาคอื่นและมาจากที่อื่น

                     แตภายในภาคเดียวกัน  อัตราคาจางแรงงานคนโดยทั่วไปในการทํากิจกรรมตางๆ  สวนใหญรอยละ 62.26

                     ไมเกินวันละ 100 บาท สวนแรงงานเครื่องจักรจะมีอัตราคาจางอยูระหวางไรละ 200 บาทขึ้นไป มากที่สุด
                     รอยละ 39.62  ในขณะเดียวกันกิจกรรมนอกภาคการเกษตรจะมีอัตราคาจางแรงงานคนสวนใหญจะจางใน

                     อัตราวันละ 101-150 บาท  คิดเปนรอยละ 67.93 (ตารางที่ 2-2)

                                อาชีพและรายไดของประชากร   อาชีพหลักทางการเกษตรของประชากรในแตละหมูบานคือ

                     การทํานาเปนสวนใหญเฉลี่ยรอยละ 90.57  ของหมูบานทั้งหมด  รองลงมา  ไดแก  การปลูกพืชไรชนิดตางๆ

                     เชน  การปลูกถั่วเหลือง  ออยโรงงาน  ขาวโพดเลี้ยงสัตว  เปนตน  นอกจากนี้จะเปนไมผลและพืชผัก ซึ่ง
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18