Page 19 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 19
6
3.3 การจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกสับปะรดรายตําบล ของแตละจังหวัด
4) สรางฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร ( GIS database ) โดยการนําเขาขอมูลทั้งในรูป
แผนที่ จุดพิกัด พรอมคุณลักษณะของจุดตรวจสอบจากภาคสนาม เพื่อสรางฐานขอมูลในการวิเคราะห
พื้นที่ปลูก พื้นที่ความเหมาะสมของดิน กลุมชุดดิน และประเมินผลผลิตดวยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
( GIS ) ดังนี้
4.1 ฐานขอมูลเชิงพื้นที่ ( Spatial data ) ประกอบดวย
- แผนที่พื้นที่ปลูกสับปะรดรายตําบลของแตละจังหวัดทั้ง 20 จังหวัด
- แผนที่แสดงขอบเขตการปกครองระดับตําบล
- แผนที่เสนทางคมนาคม
- พิกัดของจุดตรวจสอบขอมูลจากภาคสนาม ( แบบสอบถาม )
- แผนที่กลุมชุดดิน
- แผนที่จําแนกความเหมาะสมของดิน สําหรับสับปะรด
4.2 ฐานขอมูลเชิงคุณลักษณะ เปนการกําหนดคุณลักษณะของแผนที่นําเขา
แตละประเภทขอมูล ( จากแบบสอบถามภาคสนาม ) จากนั้นสรางความสัมพันธระหวางฐานขอมูลทั้งสอง
เพื่อเตรียมความพรอมในการวิเคราะหในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป
5) การหาคาผลผลิตเฉลี่ยเปนรายตําบล เปนการหาคาผลผลิตเฉลี่ยของสับปะรด โดยรวบ
รวมขอมูลผลผลิตเฉลี่ยของทุกจุดตรวจสอบ ( รวมพันธุ ) ในแตละตําบล แลวหาคาเฉลี่ย จากนั้นจึงนําไป
คํานวณหาผลผลิตรวมของตําบลนั้นๆ ในกรณีที่บางตําบลมีจํานวนจุดตรวจสอบนอย ก็ทําไดโดยการรวม
กับตําบลอื่นๆที่อยูใกลเคียงแลวหาคาเฉลี่ย สําหรับบางตําบลที่ไมมีขอมูลจากจุดตรวจสอบ ก็ใชคาเฉลี่ยของ
ตําบลขางเคียง หรือจากคาผลผลิตเฉลี่ยระดับอําเภอของกรมสงเสริมการเกษตร ปการเพาะปลูก 2546/47
6) การวิเคราะหและประมวลผลขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เปนการวิเคราะห
เพื่อหาพื้นที่ปลูกและผลผลิตรวมของสับปะรดเปนรายตําบล จากฐานขอมูลที่ไดจากขอ 4 และขอ 5
โดยวิธีการซอนทับทางคณิตศาสตร ( Intersection ) ของแผนที่แสดงเขตการปกครองระดับตําบล ของแต
ละจังหวัด ดวยโปรแกรม Arc Views 3.2a ผลที่ไดคือ พื้นที่ปลูก และผลผลิตรวมของสับปะรดเปน
รายตําบลของทั้ง 20 จังหวัด จากนั้นจัดทําแผนที่แสดงรายละเอียด เพื่อเผยแพรตอไป