Page 14 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 14

การใชเทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร
                                         เพื่อประเมินผลผลิตสับปะรด  ปการผลิต  2548



                  1.  คํานํา


                         สับปะรดเปนสินคาเกษตรที่มีศักยภาพการสงออกสูง  1 ใน 7 ชนิด  ไดแก  ขาว  ยางพารา

                  มันสําปะหลัง  กลวยไม  สับปะรด  กุงกุลาดํา  และไกเนื้อ  ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณมีนโยบายที่

                  จะสนับสนุนการสงออกเพื่อเปนอาหารสูครัวโลก  จากการรายงานของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร  โดย
                  ความรวมมือของกรมศุลกากรป  พ.ศ. 2547  ประเทศไทยสงออกผลิตภัณฑสับปะรดทุกชนิด  รวมปริมาณ

                  572,588 ตัน มูลคา 15,899.57  ลานบาท  ไดแก สับปะรดกระปอง  451,340  ตัน  มูลคา  11,165.07

                  ลานบาท  สับปะรดแชแข็ง  ปริมาณ 6,717 ตัน มูลคา 151.91 ลานบาท น้ําสับปะรด 114,531 ตัน  มูลคา
                  4,582.59 ลานบาท  ขณะเดียวกันมีหลายประเทศที่เปนคูแขงในตลาดโลก   ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่ประเทศ

                  ไทยจะตองมีการพัฒนา  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ  เพื่อใหสามารถแขง

                  ขันในตลาดโลกได   การมีฐานขอมูลดานการผลิตและการจัดการที่มีประสิทธิภาพ  จะเปนยุทธศาสตร

                  ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต  การใชเทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                  ในการรวบรวมจัดเก็บและวิเคราะห  เพื่อประเมินพื้นที่ปลูกและผลผลิตกอนฤดูกาลเก็บเกี่ยว  ซึ่งเปนทาง
                  เลือกหนึ่งของผูบริหารในการกําหนดแนวทางการบริหาร  และการจัดการดานการผลิตและการตลาด  ทั้งนี้

                  เพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดโลกไดอยางยั่งยืน



                  2.  วัตถุประสงค


                         1)     เพื่อสํารวจ  วิเคราะหพื้นที่ปลูก  และประเมินผลผลิตของสับปะรดเปนรายตําบล
                  ในปการผลิต 2548

                         2)         เพื่อสรางฐานขอมูลดานการผลิต  และแหลงแปรรูป

                         3)         เพื่อจัดทําแผนที่แสดงพื้นที่ปลูก  และผลผลิตเปนรายตําบล



                  3.  ขอบเขตของการดําเนินการ


                         รวบรวม  ศึกษา  สํารวจ  และวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการผลิตสับปะรดโรงงาน  เชน  พื้นที่ปลูก

                  พันธุ  ผลผลิตและการจัดการ  เปนรายตําบลทั้งประเทศ  โดยการวิเคราะหขอมูลจากดาวเทียมและ
                  ขอสนเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวของรวมกับการตรวจสอบขอมูลภาคสนาม  เพื่อจัดทําฐานขอมูลสําหรับการวิเคราะห

                  ประเมินผลผลิตของสับปะรดโรงงาน  และจัดทําแผนที่แสดงแหลงปลูก  ในปการผลิต  2548
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19