Page 21 - การใช้เทคโนโลยีรีโมทเซนซิ่งและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อประเมินผลผลิตอ้อยโรงงาน ปี 2548
P. 21
8
10. ผลการดําเนินงาน
10.1 การประเมินความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับปลูกสับปะรด
จากเอกสารวิชาการเลขที่ 07/06/47 สวนวางแผนการใชที่ดินที่ 1 สํานักสํารวจดินและวางแผนการ
ใชที่ดิน ( เสาวนีย ประจันศรี และคณะ,2547 ) ไดดําเนินการวิเคราะหโดยใชหลักการประเมินความ
เหมาะสมทางกายภาพตามคูมือการจําแนกระดับความตองการปจจัย สําหรับพืชเศรษฐกิจรายพันธุ
โดยใชปจจัยหลักดังนี้ คือ
- ความเหมาะสมของดินตามกลุมชุดดิน
- ความตองการดานพืช
- ความตองการดานการจัดการ
- ความตองการดานการอนุรักษ
การวิเคราะหความเหมาะสมทางกายภาพ โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ALES ( Automated
Land Evaluation System ) ผลที่ไดจากการวิเคราะหสามารถจําแนกความเหมาะสมทางกายภาพเปน 4
ระดับ คือ
S1 : ชั้นความเหมาะสมมาก S2 : ชั้นความเหมาะสมปานกลาง
S3 : ชั้นความเหมาะสมเล็กนอย N ไมมีความเหมาะสม
:
นําผลการวิเคราะหขางตนมาวิเคราะหทางคณิตศาสตรในระบบ GIS กับพื้นที่ปลูก ปการผลิต
2548 เปนรายตําบลของแตละจังหวัด ผลที่ไดทําใหทราบถึงชั้นความเหมาะสมของดินในพื้นที่ปลูก
สับปะรดเปนรายตําบล โดยภาพรวมจากการดําเนินงานใน ปการผลิต 2548 มีพื้นที่ปลูกสับปะรดทั้งสิ้น
674,354 ไร มีพื้นที่เหมาะสมมากสําหรับการปลูกสับปะรด 332 ไร หรือรอยละ 0.05 ของพื้นที่ปลูกทั้ง
ประเทศ พื้นที่เหมาะสมปานกลาง 330,451 ไร หรือรอยละ 49.00 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ และพื้นที่
ไมมีความเหมาะสม 343,571 ไร หรือรอยละ 50.95 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศ โดยภาคกลางมีการใช
พื้นที่ที่เหมะสมในการปลูกสับปะรดมากที่สุด คิดเปนรอยละ 0.09 ของพื้นที่ทั้งภาค
( รายละเอียดดูจากตารางที่ 1-2 )