Page 42 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 42

2-28








                       การตอตาน รวมทั้งแหลงน้ําที่มีอยูแลวทั้งที่สรางขึ้นและตามธรรมชาติ ยังมีความจุที่ลดลงจากการตื้นเขิน
                       และขาดการบํารุงรักษา และจากรายงานสภาพน้ําในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ในชวงตนฤดูฝน

                       ป 2548 ในชวงวันที่ 23 มิถุนายน 2548 พบวา เขื่อนภูมิพลจุน้ําไดทั้งหมด 13,462 ลานลูกบาศกเมตร

                       มีน้ําใชการได  9,662  ลานลูกบาศกเมตร ขณะที่มีน้ําใชการได 1,717  ลานลูกบาศกเมตร คิดเปน
                       รอยละ 18 ของน้ําใชการได การระบายทายเขื่อนภูมิพล 106 ลูกบาศกเมตรตอวินาที หรือ

                       9 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน สวนเขื่อนสิริกิติ์ จุน้ําไดทั้งหมด 9,510 ลานลูกบาศกเมตร มีน้ําใชการ

                       ได 6,660 ลานลูกบาศกเมตร ขณะที่มีน้ําใชการได 1,533 ลานลูกบาศกเมตร คิดเปนรอยละ 23
                       ของน้ําใชการไดการระบายน้ําทายเขื่อนสิริกิติ์ 104 ลูกบาศกเมตรตอวินาที หรือ 9 ลานลูกบาศก

                       เมตรตอวัน ดังนั้น ทําใหความพรอมในการรับน้ําเขาเขื่อนทั้งสอง คือ เขื่อนภูมิพลสามารถรับน้ําได

                       อีก 7,945 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณรอยละ 82 ของความจุทั้งหมดเขื่อนสิริกิติ์สามารถรับน้ํา
                       ไดอีก 1,739 ลานลูกบาศกเมตร หรือประมาณรอยละ 77 ของความจุทั้งหมด (ตารางที่ 2-11)

                                แตอยางไรก็ตามในชวงฤดูฝนป 2548  นี้  ปริมาณน้ําที่ไหลเขาสะสมในอางเก็บน้ําและ

                       เขื่อนก็ยังอยูในเกณฑนอยมาก  โดยเฉพาะอางเก็บน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ถาสถานการณ

                       ดังกลาวยังคงเปนอยูตอเนื่องตอไป  คาดวาจะสงผลกระทบตอการปลูกพืชฤดูแลงในปถัดไป
                       คอนขางแนนอน จากรายงาน พบวา ฝนที่ตกในพื้นที่ลุมรับน้ําตางๆ ทั้ง 25 ลุมน้ํา ในชวงตนของฤดูฝน

                       ป 2548  ตั้งแตวันที่ 16  มีนาคม–4  พฤษภาคม 2548  รวม 927.73  ลานลูกบาศกเมตร  โดยวันที่ 4

                       พฤษภาคม 2548  ปริมาตรน้ําใชการไดรวม 12,756  ลานลูกบาศกเมตร  หรือคิดเปนรอยละ 29

                       ของความจุที่ใชการไดและมีปริมาณน้ําไหลเขาอางรวม 8.61  ลานลูกบาศกเมตร  ซึ่งอางเก็บน้ําที่มี
                       ปริมาตรน้ําไหลลงอางมากที่สุด ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนรัชชประภา จังหวัดสุราษฎรธานี มีปริมาตรน้ํา

                       ไหลเขาอาง 1.95  ลานลูกบาศกเมตร  สําหรับอางเก็บน้ําเขื่อนที่อยูในภาวะวิกฤติ  จํานวน 5  อาง

                       ไดแก อางเก็บน้ําเขื่อนจุฬาภรณ ลําตะคอง ลําพระเพลิง ทับเสลาและกระเสียว อยูในเกณฑรอยละ
                       5  6  8  8 และ 0 ของความจุใชการไดของอางเก็บน้ําตามลําดับ อางเก็บน้ําที่ตองเฝาระวัง จํานวน 12 อาง

                       ไดแก ภูมิพล แมกวง ลําปาว อุบลรัตน ลํานางรอง มูลบน ลําแซะ วชิราลงกรณ บางพระ หนองปลาไหล

                       คลองสียัด และปราณบุรีอยูในเกณฑรอยละ 14-29 อางเก็บน้ําที่มีปริมาตรน้ําเพียงพอ จํานวน 12 อาง
                       ไดแก สิริกิติ์ แมงัด กิ่วลม น้ําอูน สิรินธร หวยหลวง น้ําพุง ปาสักฯ ศรีนครินทร แกงกระจาน รัชชประภา

                       และบางลางอยูในเกณฑรอยละ 30 ขึ้นไป

                                จากการประเมินปริมาณน้ําตนทุนเพื่อการปลูกพืชที่มีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง  และ
                       เนื่องจากชวงฤดูฝนในป 2547  ที่ผานมา  มีปริมาณน้ําฝนคอนขางนอยและฝนหมดเร็ว  สงผล

                       ใหหลายพื้นที่ประสบปญหาความแหงแลงเร็วขึ้น และมีแนวโนมที่จะเกิดภาวะแหงแลงยาวนานกวาทุกๆ ป

                       และจะเปนสวนสําคัญของการทําใหความยากจนเกิดขึ้นกับประชาชน  ถึงกระนั้นก็ตามสิ่งหนึ่งที่





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47