Page 41 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจข้าวนาปรัง
P. 41

2-27








                       ความแหงแลงปนี้จะรุนแรงกวาปที่ผานมามาก  สําหรับสถานการณความแหงแลง  พบวา  ตั้งแตปลาย
                       เดือนกันยายน 2547 เกิดสภาวการณทางธรรมชาติฝนทิ้งชวงเร็วกวาปกติ ทําใหสถานการณความแหงแลง

                       ปนี้ทวีความรุนแรงมาก   และสงผลใหเกิดความแหงแลงครอบคลุมพื้นที่ในทุกภาคของไทย

                       โดยเฉพาะทําความเสียหายในภาคการเกษตร  จากการสํารวจจนถึงเดือนมีนาคม 2548  พบวา
                       ผลกระทบทําใหผลผลิตการเกษตรลดลงรอยละ 16.6 จากระยะเดียวกันของป 2547 โดยผลผลิตพืช

                       ไดรับผลกระทบมาก ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และไมผล และสงผลใหมีพื้นที่ประสบภัยแลง

                       แลว 66 จังหวัด พื้นที่การเกษตรเสียหาย 13,704,675 ไร มูลคาความเสียหาย 7,410,787,165 บาท
                       ในการนี้ หนวยงานที่เกี่ยวของไดกําหนดมาตรการเรงดวน  ใหเกษตรกรที่ตองใชน้ําจากลุมน้ํา

                       เจาพระยาตอนลาง งดการปลูกขาวนาปรังครั้งที่ 2 โดยเด็ดขาด สวนเกษตรกรที่ตองใชน้ําจาก

                       อางเก็บน้ําที่อยูในขั้นวิกฤติ 6 อางดังกลาว ใหงดปลูกพืชฤดูแลง
                                สวนสถานการณน้ําในเขื่อนในชวงตนฤดูแลงป 2548 พบวา สวนใหญปริมาณน้ําอยูใน

                       ระดับปานกลางถึงต่ํามาก คือ ภาคเหนือเขื่อนภูมิพลมีน้ํารอยละ 32.9 เขื่อนสิริกิติ์ มีน้ํารอยละ

                       57.8  รวมปริมาณน้ําใชงาน 7,119  ลานลูกบาศกเมตร  ซึ่งฤดูแลงปนี้ทางการตองสงน้ําใหพื้นที่

                       ชลประทานอีก 3,225  ลานลูกบาศกเมตร  ใหเพียงพอตอการปลูกพืชฤดูแลงในพื้นที่โครงการ
                       ใหญ  เชน  โครงการพิษณุโลก สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือปริมาณน้ําอยูในเกณฑคอนขางต่ํา

                       ถึงต่ํามาก โดยน้ําในเขื่อนอุบลรัตน มี 609 ลานลูกบาศกเมตร สวนเขื่อนสิรินธร มีปริมาณน้ํา

                       คงเหลือ 483  ลานลูกบาศกเมตร  ที่เขื่อนลําปาว  จังหวัดกาฬสินธุ  น้ําในเขื่อนลําปาวปนี้มี

                       ปริมาณต่ําสุดในรอบ 6 ป เหลือน้ําอยูเพียงรอยละ 35 หรือประมาณ 500 ลานลูกบาศกเมตร แตยัง
                       ปลอยน้ําใหเกษตรกรในพื้นที่โครงการจนถึงปลายเดือนเมษายน 2548 หลังจากนั้นก็จะปดการสงน้ํา

                       และใหเกษตรกรใชน้ําอยางประหยัด

                                ตอมาในชวงฤดูแลงป 2548 ปริมาณน้ํากักเก็บเพื่อใชประโยชน มีจํานวนลดลงอยางมาก
                       โดยปริมาณน้ําที่เหลือใชงานไดจริงในเขื่อนและอางเก็บน้ําขนาดใหญทั่วประเทศ  เมื่อวันที่ 24

                       กุมภาพันธ 2548 มีจํานวนเพียง 20,078 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ 45 ของความจุใชงานได

                       และลดลงเหลือเพียง 12,032 ลานลูกบาศกเมตร หรือรอยละ 27 ของความจุใชงานได ในชวงปลายฤดูแลง
                       ณ วันที่ 13 พฤษภาคม 2548 โดยอางเก็บน้ําหลายแหงที่อยูในภาวะวิกฤติเพิ่มขึ้น มีปริมาณน้ําใชการได

                       ไมเกินรอยละ 10 ของความจุกักเก็บน้ําที่ใชได โดยเฉพาะอางกระเสียวไมมีปริมาณน้ําเหลือใหใชเลย

                       สําหรับความเสี่ยงตอภัยแลงและการขาดแคลนน้ําในอนาคตคาดวาจะมีมากขึ้น เนื่องจากความตองการ
                       ใชน้ําเพิ่มขึ้น จากการเพิ่มของประชากรและกิจกรรมการผลิตทางเศรษฐกิจตางๆ โดยเฉพาะการทํานาปรัง

                       ซึ่งมีการใชน้ําจากแหลงกักเก็บน้ําในแตละฤดูกาลมากถึงไรละ 2,000  ลูกบาศกเมตร  ขณะที่

                       การกอสรางแหลงกักเก็บน้ํา  เพิ่มเติมโดยเฉพาะขนาดใหญมีขอจํากัดจากลักษณะภูมิประเทศและ





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจขาวนาปรัง                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46