Page 33 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 33

2-13








                       ดินที่พบสวนใหญมีการระบายน้ําดีและมักมีสีแดงหรือแดงปนเหลือง หรือบางแหงมีสีเหลือง
                       ปนน้ําตาล

                                4.) ธรณีสัณฐานที่เปนภูเขา (hills and mountains) ภาคใตประกอบไปดวยเทือกเขาหลายเทือก

                       เทือกเขาภูเก็ตประกอบดวยหินชุดแกงกระจานซึ่งมีหินดินดาน   สีดําและสีเทา   และหินทราย
                       สีแดงๆ   ทางตอนใตของเทือกเขานี้มีหินชุดราชบุรี (หินปูน) และหินแกรนิตยุคครีเตเชียส

                       แทรกขึ้นมาซึ่งมีแรดีบุกตกผลึกอยูมากมาย   เชน   ในเขตจังหวัดระนอง   พังงา   และภูเก็ต

                       สวนเทือกเขานครศรีธรรมราชมีหินชุดภูกระดึงเปนองคประกอบ   สลับกับหินชุดราชบุรีและชุดทุงสง
                       ซึ่งพบตั้งแตสุราษฎรธานีไปจนถึงจังหวัดกระบี่   บริเวณเขาหลวงจังหวัดนครศรีธรรมราชซึ่งเปนยอดเขา

                       ที่สูงเดนในภาคใตสูงประมาณ 1,784  เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง   เปนภูเขาหินแกรนิต

                       บริเวณรอบเขาหลวงมีหินชุดตะรุเตายุคแคมเบรียนซึ่งเปนหินที่มีอายุมากชนิดหนึ่งที่พบในประเทศไทย
                       สวนเทือกเขาตอนใตสุดของภาคไดแก เทือกเขาสันกาลาคีรี ประกอบดวยหินชุดกาญจนบุรี

                       ซึ่งมีหินดินดาน   หินฟลไลท   และควอทไซท   เปนองคประกอบ  ดินที่พบในบริเวณเทือกเขาตาง ๆ

                       จะแตกตางกันมากขึ้นอยูกับชนิดของหินที่เปนวัตถุตนกําเนิดดิน  พบทั้งดินตื้นถึงดินลึก  แตสวนใหญ

                       จะออกไปทางสีแดงและแดงเหลือง   เปนดินที่เกิดจากการสลายตัวมาจากหินโดยตรง (residual soils)
                                จากลักษณะดินที่กลาวมาขางตน   กรมพัฒนาที่ดินไดจัดหมวดหมูลักษณะและสมบัติดิน

                       ที่มีศักยภาพคลายคลึงกันในดานที่มีผลตอการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของพืชที่ปลูก จัดหมวดหมู

                       ได 62 กลุมชุดดิน โดยแบงตามสภาพที่พบไดเปน 4 กลุมใหญ  ดังนี้

                                1) กลุมชุดดินในพื้นที่ลุมหรือพื้นที่น้ําขัง
                                   พบทุกภาค ไดแก กลุมชุดดินที่ 1 – 25 และกลุมชุดดินที่ 57 - 59

                                2) กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินแหง

                                   พบในภาคกลาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก กลุมชุดดินที่ 28  29
                       30  31  33  35  36  37  38  40  41  44  46  47  48  49  52  54  55  56  60 และ 61

                                3) กลุมชุดดินในพื้นที่ดอนที่อยูในเขตดินชื้น

                                   พบในภาคใตและพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวันออกเฉียงใต ไดแก กลุมชุดดินที่ 26  27
                       32  34  39  42  43  45  50  51 และ 53

                                4) กลุมชุดดินที่มีความลาดชันสูง

                                   พื้นที่ภูเขาและเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 ไดแก กลุมชุดดินที่ 62
                                   ลักษณะของ 62 กลุมชุดดินแสดงในตารางที่ 2-2









                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38