Page 32 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 32

2-12








                            1.3) บริเวณธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลทวมถึง (active tidal flats) มีสภาพพื้นที่
               ราบเรียบ   ในปจจุบันยังไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลพัดพาเอาตะกอนมาทับถม   เปนตะกอนที่มี

               เนื้อละเอียดและมีปริมาณเกลือเปนองคประกอบอยูสูง   ดินที่พบบริเวณนี้เปนดินเหนียวมีความชื้น

               สูงมาก   จึงมีลักษณะออนตัว   มีความสามารถในการรับน้ําหนักต่ํา (low – loading capacity)
               นอกจากนี้ตะกอนที่ถูกพัดพามาทับถมมีองคประกอบของกํามะถันแตกตางกันดวย   ถาพบในปริมาณ

               สูงกวารอยละ 0.75    ดินจะมีความเปนกรดแฝงอยู   ในสภาพที่ดินเปยกมีน้ําขังจะมีปฏิกิริยาเปนดาง

               แตพอระบายน้ําออก   และดินแหงจะกลายเปนดินเหนียวจัด
                            1.4) บริเวณธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลเคยทวมถึง   และเกิดจากการทับถม

               ของตะกอนน้ํากรอย (former tidal flats with brackish water sediments) ที่จริงแลวบริเวณธรณีสัณฐาน

               สวนนี้ตะกอนที่พบดานลางสวนใหญเปนตะกอนน้ําทะเล (marine sediments) สวนบนเทานั้น
               ที่เปนตะกอนน้ํากรอยที่น้ําจากแมน้ําลําคลองพัดพามาปะทะกับน้ําทะเลแลวกลายเปนน้ํากรอย

               ดินที่พบในบริเวณพื้นที่สวนนี้มักเปนดินเปรี้ยวจัดหรือดินกรดกํามะถัน (acid sulphate soils)

               การเกิดดินเปรี้ยวจัดมีกระบวนการทางเคมี เชนเดียวกับการเกิดดินเปรี้ยวในที่ราบภาคกลางตอนใต

                        2.) ธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบต่ําเกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําจืดหรือตะกอนจากแมน้ํา
               (fresh water deposits or riverine deposits) ดังที่ไดกลาวมาแลวในภาคใตเปนแมน้ําที่สั้น   พื้นที่เกิดจาก

               การทับถมของลําน้ําจึงเปนบริเวณที่ไมกวางขวางนัก   ฉะนั้นธรณีสัณฐานที่เกิดจากอิทธิพลของลําน้ํา

               หรือแมน้ําแบงออกไดเปน 2 สวน คือ

                            2.1) บริเวณที่ราบน้ําทวมถึง (flood plain) พบบริเวณสองขางของแมน้ําสายสําคัญ
               ในภาค   ประกอบดวยสันริมฝงแมน้ํา (river levees) เปนพื้นที่แคบขนานไปกับแมน้ํามีสภาพพื้นที่

               คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นเล็กนอย   และเปนบริเวณที่ราบลุมหลังแมน้ํา (river basin)

               เปนสวนที่อยูถัดจากสันริมแมน้ําออกไปเปนที่ราบเรียบ   มีน้ําขังในชวงฤดูฝน   ดินมีสภาพ
               การระบายน้ําเลว   และสวนใหญพบวาเปนดินเนื้อละเอียด  ใชในการทํานาเปนสวนใหญ   ดินที่พบ

               เปนดินเนื้อละเอียดปานกลาง   มีสภาพการระบายน้ําดีหรือดีปานกลาง

                            2.2) บริเวณลานตะพักลําน้ํา (river terraces)  เปนบริเวณที่ดินดอน (upper terraces)
               เกิดจากตะกอนที่ลําน้ําพัดพามาทับถมเปนเวลานานแลว   มักพบกรวดที่มีรูปรางกลม ๆ (cobbles)

               และกรวดลูกรังในชั้นดินตอนลาง   มักพบเปนชั้นอยูตื้นกวา 1  เมตร   ลักษณะเนื้อดินระเอียดปานกลาง

               การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี   มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนคลื่นเล็กนอย
                        3.) ธรณีสัณฐานที่เหลือตกคางจากการกัดกรอน (dissected erosion surface or strath

               terrace) พบบริเวณที่ราบระหวางหุบเขาและเนินเขาเตี้ยทั่ว ๆ ไป ลักษณะพื้นที่มักเปนลูกคลื่นลอนลาด

               ถึงลอนชัน   ดินที่เกิดในสภาพพื้นที่สวนนี้มีลักษณะแตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดของหินที่ใหกําเนิดดิน





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37