Page 30 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 30
2-10
1.2) ธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลทวมถึง (active tidal flat) มีสภาพพื้นที่
ราบเรียบ ในปจจุบันไดรับอิทธิพลจากน้ําทะเลที่พัดพาเอาตะกอนมาทับถม เปนตะกอนที่มี
เนื้อละเอียด จึงใหกําเนิดดินที่เปนดินเหนียว มีปริมาณเกลือสูง มีสภาพการระบายน้ําเลว
พบเปนบริเวณไมกวางนักทางดานตะวันตกและตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดชลบุรี ทางดานใต
ของจังหวัดระยองและจันทบุรี ทางดานตะวันออกของจังหวัดตราด ปกคลุมดวยปาชายเลน
บางสวนใชทํานาเกลือและเลี้ยงกุง
1.3) ธรณีสัณฐานที่เปนที่ราบลุมน้ําทะเลและน้ํากรอยเคยทวมถึงมากอน (former
tidal flats with marine and brackish water deposits) อยูถัดเขามาจากพื้นที่ราบลุมน้ําทะเลทวมถึง
ในปจจุบัน วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนเนื้อละเอียด เนื้อดินจึงมีลักษณะเปนดินเหนียว
มีสภาพการระบายน้ําเลว ปฏิกิริยาของดินไมแนนอน บางแหงพบดินเปรี้ยวจัด (acid sulfate soils)
เหมือนกับที่พบในภาคกลาง พื้นที่สวนนี้จะพบเปนบริเวณกวางในจังหวัดชลบุรีดานเหนือ
จังหวัดฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรีทางดานใต สวนในจังหวัดระยอง จันทบุรี พบเปนบริเวณแคบ ๆ
1.4) ธรณีสัณฐานที่เปนลานตะพักลําน้ํา (river terraces) ที่พบในภาคตะวันออก
เปนบริเวณที่ไมกวางนัก ลานตะพักลําน้ําขั้นต่ํา (low terrace) พบในจังหวัดปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา
และชลบุรี ใชประโยชนในการปลูกขาว ลานตะพักลําน้ําขั้นกลางและขั้นสูงที่พบในจังหวัดชลบุรี
ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ใชประโยชนในการปลูกพืชไร ลักษณะของดินที่พบมีความแตกตางกัน
ขึ้นกับตะกอนที่น้ําพามาทับถม แตสวนใหญมีเนื้อละเอียดปานกลางถึงคอนขางหยาบหรือเปนทราย
1.5) ธรณีสัณฐานที่เปนเนินตะกอนรูปพัด (alluvial fan) และเนินตะกอนรูปพัด
ที่เกิดขึ้นติดตอกัน (coalescing fans) พบบริเวณที่ลาดเชิงเขา เกิดจากการกระทําของน้ําไดพัดพา
เอาตะกอนจากที่สูงลงมาทับถมในที่ต่ํา และเปนที่ราบ ทําใหเกิดเนินตะกอนแผคลายรูปพัด
โดยเฉพาะเกิดบริเวณเชิงเขาหินแกรนิต ลักษณะพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาด ดินที่พบสวนใหญ
เปนดินรวนเหนียวปนทราย สภาพการระบายน้ําดี ใชปลูกพืชไร ไมยืนตนโดยเฉพาะยางพารา
2.) ธรณีสัณฐานที่เหลือคางจากการกัดกรอน (erosion surface) พบเปนบริเวณกวาง
ตั้งแตจังหวัดชลบุรีถึงจังหวัดตราด สภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน
อยูระหวางรอยละ 4 - 16 พบมากในอําเภอศรีราชา บานบึง จังหวัดชลบุรี อําเภอบานคาย ปลวกแดง
จังหวัดระยอง ดินที่พบบริเวณธรณีสัณฐานที่เหลือตกคางจากการกัดกรอนเปนดินเนื้อละเอียด
ปานกลางถึงละเอียด มีสีแดง มักมีกรวดลูกรังปน ใชประโยชนในการปลูกไมยืนตน เชน ยางพารา
เงาะ และทุเรียน
3.) ธรณีสัณฐานที่เกิดจากหินเหลวเย็นตัว (lava plateau) พบบริเวณกวางพอสมควร
ในเขตอําเภอทาใหม โปงน้ํารอน จังหวัดจันทบุรี และที่อําเภอบอไร จังหวัดตราด สภาพพื้นที่
เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน