Page 146 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 146

4-30







               มีรายไดเหนือตนทุนผันแปร 12,296.36 บาท  สวนในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง
               ของภาคใตนั้นเกษตรกรไดรับผลตอบแทนต่ํากวาเขตพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยอาจเปนเพราะ

               มีตนทุนทั้งตนทุนผันแปรและตนทุนคงที่ และยังไดรับผลผลิตต่ํากวากันอีกประมาณ 70 กิโลกรัม

               ตอไร  เกษตรกรในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางจึงไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร
               9,726.15 บาทตอไร และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 9,000.71 บาทตอไร ขณะที่เขตพื้นที่ที่ดิน

               มีความเหมาะสมเล็กนอยมีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 11,791.41 และ 11,135.00 บาทตอไร

               ตนทุนเฉลี่ยตอกิโลกรัมของผลผลิตนั้นพบวามีมูลคาเทากับ 3.61 4.41 และ 3.10 บาทตอกิโลกรัม
               สําหรับเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง พื้นที่ที่ดินเหมาะสมปานกลาง และพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสม

               เล็กนอย สําหรับภาคใต ตามลําดับ ขณะที่ภาคตะวันออกนั้นมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม

               ของผลผลิตเทากับ 7.43 6.93 และ 7.05 บาท ตามลําดับพื้นที่ (ตารางที่ 4-19)

                        4.1.2.3 การวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนและระยะเวลาการปลูกทดแทนเงาะ


                                เนื่องจากเงาะเปนพืชที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป  การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหมี

               รอบอายุการผลิต 25  ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตจึงใชมูลคาปจจุบันของผลตอบแทน
               หรือผลไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอการลงทุน (B/C Ratio) และ

               อัตราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return) ผลไดสุทธิที่คิดเปนมูลคาปจจุบัน ณ อัตรา

               คิดลดรอยละ 5.50  ตลอดอายุการผลิต 25 ป  มีมูลคา  53,442.68  บาทตอไร  ทําใหไดรับผลตอบแทนเหนือ
               ตนทุนทั้งหมดหรือผลไดเฉลี่ยตอปประมาณ 4,008.20 บาทตอป อัตราสวนของผลไดตอตนทุน

               (B/C Ratio) เทากับ 1.81  สวนอัตราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return) เทากับรอยละ

               27.47 และมีจุดคุมทุนปที่ 8  เมื่อพิจารณาตามความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดิน พบวา พื้นที่ที่ดิน
               มีความเหมาะสมสูง (S1) เงาะใหผลไดปจจุบันสุทธิ 46,522.12 บาทตอไร หรือ 3,489.16 บาทตอไร

               ตอป  อัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.47 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 23.20

               จุดคุมทุนปที่ 9  ขณะที่พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) เงาะใหผลไดปจจุบันสุทธิต่ําที่สุด

               ใน 3 เขตพื้นที่เหมาะสม 12,534.52 บาทตอไร หรือ 940.09 บาทตอไรตอปโดยมีอัตราสวนของผลได
               ตอตนทุนเทากับ 1.14  และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 16.49  จุดคุมทุนปที่ 9  สวนพื้นที่ที่ดิน

               มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) เงาะใหผลไดปจจุบันสุทธิ  21,434.85 บาทตอไร หรือ 1,607.61 บาทตอไร

               ตอปโดยมีอัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.27 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 14.85
               จุดคุมทุนปที่ 11 แตถาพิจารณาเปนรายภาคปรากฏวาภาคใตใหรายไดที่ดีกวาภาคตะวันออก

               เพราะตัวชี้วัดทุกตัวมีคาสูงกวา กลาวคือ เงาะในภาคใตใหผลไดปจจุบันสุทธิ 69,976.81 บาทตอไร

               หรือ 5,248.26 บาทตอไรตอป โดยมีอัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.87 และอัตรา

               ผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 26.67  มีจุดคุมทุนเร็วที่สุดกลาวคือมีจุดคุมทุนปที่ 6  สําหรับ



               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151