Page 144 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 144

4-28








               ซึ่งไดแกคาแรงงานเปนสวนใหญมีมูลคาเกินกวาครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 64 ของตนทุนทั้งหมด ซึ่งพบวา
               ในทุกชวงอายุเงาะ คาแรงงานจะมูลคามากกวาคาวัสดุการเกษตร  โดยเฉพาะชวงอายุ 11-20 ป และอายุ

               21 ปขึ้นไป  มีคาแรงงานสูงประมาณรอยละ 80 และ 79  ของตนทุนผันแปรใน 2 ชวงอายุดังกลาว

               ซึ่งมีมูลคามากกวาคาวัสดุเกษตรประมาณ  3,260 และ 3,320   บาทตอไร ตามลําดับ เงาะปที่ 1 และ
               ปที่ 2-3 ยังไมใหผลผลิต เกษตรกรผูปลูกเงาะใน 2  ชวงอายุนี้จึงยังไมมีรายไดคงมีแตคาใชจายเพียง

               อยางเดียว  เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับมูลคาของตนทุนที่เกิดขึ้น ซึ่งถาพิจารณา

               ตามประเภทตนทุนแลว ปรากฏวาปที่ 1 และปที่ 2-3 เกษตรกรประสบกับการขาดทุนโดยไดรับ
               ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุนไรละ 5,005.92 และ 4,102.96  บาท  ตามลําดับชวงอายุ

               ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดนั้นพบวาขาดทุนไรละ 6,148.69 และ 5,532.91 บาท ตามลําดับ

               ชวงอายุ สําหรับชวงอายุ 4-10 ป 11-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไปนั้น เกษตรกรมีกําไรเนื่องจากเงาะ
               ใหผลผลิตแลว 1,016.60 1,401.00 1,170.53   กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาปริมาณ

               ผลผลิตไดเพิ่มขึ้นตามอายุเงาะที่เพิ่มขึ้นในระยะแรก แตเมื่อเงาะอายุเกินกวา 20 ป ปริมาณผลผลิตเริ่มลดลง

               เชนเดียวกับภาคตะวันออก  ตนทุนทั้งหมดของการผลิตเงาะในชวงอายุอายุ 4-10 ป 11-20 ป และอายุ

               ตั้งแต 21 ปขึ้นไปคือ 5,279.82 6,154.01 และ 5,779.99 บาทตอไร  ณ ราคาขายผลผลิต 12.50 บาท
               ตอกิโลกรัม ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 8,023.13 12,293.08 และ

               9,321.41 บาทตอไร ตามลําดับชวงอายุ  และไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 7,427.68

               11,358.49 และ 8,851.64 บาท ในแตละชวงอายุ ตามลําดับ หรือคิดเปนตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม

               5.19 4.39 และ 4.94 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งมีมูลคามากกวาราคาขายผลผลิตเงาะที่เกษตรกรไดรับทั้งหมด
               เกษตรกรจึงมีกําไร  (ตารางที่ 4-18)

                                เมื่อพิจารณาผลตอบแทนของการปลูกเงาะในแตละภาคโดยจําแนกตามระดับ

               ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินพบวา เกษตรกรที่ปลูกเงาะในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง
               (S1)  จะมีปริมาณผลผลิตสูงสุดคือ 1,056.82 และ 1,298.68 กิโลกรัมตอไรสําหรับภาคตะวันออก

               และภาคใต ตามลําดับ สวนพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ไดรับผลผลิตประมาณ 860 และ

               1,110  กิโลกรัมตอไร ตามลําดับภาค  ราคาขายผลผลิตนั้นแตกตางกันโดยภาคใตเกษตรกรขายผลผลิต
               ไดราคาสูงกวาภาคตะวันออกกิโลกรัมละ 3.20 บาท  สงผลใหเกษตรกรในภาคใตไดรับมูลคาผลผลิตเฉลี่ย

               ตอไรสูงกวาและยังมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยตอกิโลกรัมต่ํากวาภาคตะวันออกประมาณ 1 เทา

               ภาคตะวันออกเกษตรกรมีผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 3,366.02  2,790.19  และ  2,716.67 บาทตอไร
               สําหรับพื้นที่ความเหมาะสมสูง ปานกลางและเล็กนอย ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาในเขตพื้นที่ที่ดินมี

               ความเหมาะสมปานกลางจะไดรับผลผลิตเงาะนอยกวาเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย

               ประมาณ 10 กิโลกรัมตอไร สวนในพื้นที่ภาคใตนั้น ในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง เกษตรกร





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149