Page 150 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจเงาะ
P. 150

4-32








               ภาคตะวันออกนั้นเงาะมีคาตัวชี้วัดทุกตัวต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคใต กลาวคือ ใหผลได
               ปจจุบันสุทธิ  14,409.36  บาทตอไร หรือ 1,080.70 บาทตอไรตอป โดยมีอัตราสวนของผลได

               ตอตนทุนเทากับ 1.20 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 12.92 จุดคุมทุนปที่ 22 (ตารางที่ 4-20)

               จากเกณฑการตัดสินใจ (ดูรายละเอียดบทที่ 1) สรุปไดการลงทุนผลิตเงาะในพื้นที่ตาง ๆ  ตามที่จําแนกไวนั้น
               ยังกระทําได เพราะคาตัวชี้วัดจากการคํานวณสูงกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว แตเปนที่นาสังเกตวา

               ภาคตะวันออกมีคาตัวชี้วัดทุกตัวคอนขางต่ํา ทําใหเกษตรกรในภาคนี้มีความเสี่ยงสูงกวาพื้นที่อื่น ๆ

               ประกอบกับเกษตรกรบางรายตองการเปลี่ยนอาชีพไปสูภาคนอกการเกษตร (รอยละ 15.79 ของ
               เกษตรกรที่สํารวจในภาคตะวันออกทั้งหมด) และบางสวนหรือรอยละ 30.26 ของเกษตรกรที่สํารวจ

               ในภาคตะวันออกทั้งหมด)ไมแนใจวาจะประกอบอาชีพในการเกษตรดังเดิมหรือไม ดังนั้นอาจเปน

               สาเหตุที่เกษตรกรจะเลือกปลูกพืชอื่นทดแทน เชนยางพาราหรือปาลมน้ํามัน หรือเปลี่ยนไป
               ประกอบอาชีพอื่น

                                การลงทุนปลูกไมผลนั้นเกษตรกรจะตองตัดสินใจวาควรทําการตัดทิ้งแลว

               ปลูกใหมเมื่อใดจึงจะทําใหเกิดประโยชนสูงสุด เนื่องจากผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการปลูกไมผล

               จะลดลงเมื่อถึงอายุหนึ่งไมคุมกับคาใชจายตาง ๆ ดังนั้นจึงไดวิเคราะหหาชวงเวลาที่เหมาะสม

               ในการปลูกทดแทนโดยวิธี capital  budgeting  หากกลับไปพิจารณาผลการวิเคราะหขางตนแลว
               จะพบวารายไดหรือผลไดปจจุบันสุทธิสามารถอธิบายไดเพียงลักษณะกําไรหรือขาดทุนทางการคา

               ของสวนไมผลในแตละปเทานั้น ไมสามารถบอกไดวาเกษตรกรควรจะปลูกไมผลติดตอกันนาน

               เปนระยะเวลากี่ปจึงจะทําใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้นจึงควรคํานวณรายไดหรือผลไดมาตรฐาน

               (standardized income) หรือผลไดสุทธิเฉลี่ยตอปของผลไดปจจุบันสุทธิสะสมซึ่งคํานวณจาก

               ผลไดปจจุบันสุทธิสะสมปรับดวย Capital Recovery Factor เพื่อใหเปรียบเทียบกันได ซึ่งผลได

               ปจจุบันสุทธิสะสมคือผลรวมของผลไดปจจุบันสุทธิในปกอนหนานั้นเขาดวยกัน การคํานวณดวย
               วิธีการดังนี้สามารถทําใหเกษตรกรทําการตัดสินใจไดวาควรทําการปลูกไมผลติดตอกันเปนระยะเวลากี่ป

               โดยพิจารณาจากปที่มีผลไดมาตรฐานสูงสุด การวิเคราะหหาระยะเวลาที่เหมาะสมของการที่โคนตนเกาทิ้ง

               และปลูกทดแทนขึ้นมาใหมของการลงทุนปลูกเงาะไดดําเนินการตามวิธีการของ สมใจ (2544)
               ผลการวิเคราะหจากตารางที่ 4-21 ถึง 4-26  สรุปไดวาเกษตรกรผูปลูกเงาะในภาพรวมของทั้งประเทศ

               และภาคใตนั้นพบวายังไมควรตัดตนเงาะทิ้งเมื่ออายุเงาะ 25 ป เพราะเงาะยังใหผลไดมาตรฐานที่เปนบวก

               และมีมูลคาสูงสุดอยู   และถาปลูกตอไปคาดวาผลไดมาตรฐานยังคงสูงขึ้นเพราะผลไดปจจุบัน

               สะสมยังคงสูงขึ้นเรื่อย ๆ   ขณะที่ภาคตะวันออกนั้น ควรตัดตนเงาะทิ้งเมื่อเงาะอายุ 18  ปเนื่องจาก
               ผลไดมาตรฐานที่เปนบวกและมีมูลคาสูงสุดอยูที่ปที่ 18  จากนั้นผลไดมาตรฐานเริ่มลดลง ทั้งที่เงาะ

               ยังอยูในชวงเก็บเกี่ยวผลผลิตไดเพียง 15 ป  และถาพิจารณาตามระดับความเหมาะสมของที่ดินที่ใช




               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ เงาะ                                                                                             สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155