Page 18 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่
P. 18

2-4






                       2.2  ภูมิอากาศ


                            2.2.1 ลมมรสุม

                                     ประเทศไทยอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต
                       และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

                                     1)  ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต  จะพัดปกคลุมประเทศไทย  ระหวางกลางเดือน

                       พฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม  โดยมีแหลงกําเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต

                       บริเวณมหาสมุทรอินเดีย  ซึ่งพัดออกจากศูนยกลางเปนลมตะวันออกเฉียงใต  และเปลี่ยนเปนลม
                       ตะวันตกเฉียงใตเมื่อพัดขามเสนศูนยสูตร  มรสุมนี้จะนํามวลอากาศชื้นจากมหาสมุทรอินเดียมาสู

                       ประเทศไทยทําใหมีเมฆมากและฝนชุกทั่วไป โดยเฉพาะอยางยิ่งตามบริเวณชายฝงทะเลและ

                       เทือกเขาดานรับลมจะมีฝนมากกวาบริเวณอื่น
                                     2)  ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ  หลังจากหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต

                       แลว  ประมาณกลางเดือนตุลาคมจะมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยจนถึง

                       กลางเดือนกุมภาพันธ  มรสุมนี้มีแหลงกําเนิดจากบริเวณความกดอากาศสูงบนซีกโลกเหนือแถบ
                       ประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแหงจากแหลงกําเนิดเขามาปกคลุม

                       ประเทศไทยทําใหทองฟาโปรง  อากาศหนาวเย็น และแหงแลงทั่วไป โดยเฉพาะภาคเหนือ

                       และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สวนภาคใตจะมีฝนชุกโดยเฉพาะภาคใตฝงตะวันออกเนื่องจากมรสุมนี้
                       นําความชุมชื้นจากอาวไทยเขามาปกคลุม  การเริ่มตนและสิ้นสุดมรสุมทั้งสองชนิดอาจผันแปร

                       ไปจากปกติไดในแตละป

                            2.2.2 ฤดูกาล

                                     ประเทศไทยโดยทั่วๆ ไปสามารถแบงออกไดเปน 3 ฤดู ดังนี้

                                     1)  ฤดูรอน  เริ่มตนประมาณกลางเดือนกุมภาพันธไปจนถึงกลางเดือนพฤษภาคม
                       ซึ่งเปนชวงเปลี่ยนจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเปนมรสุมตะวันตกเฉียงใต และเปนระยะที่

                       ขั้วโลกเหนือหันเขาหาดวงอาทิตย โดยเฉพาะเดือนเมษายนบริเวณประเทศไทยมีดวงอาทิตย

                       อยูเกือบตรงศีรษะในเวลาเที่ยงวันทําใหไดรับความรอนจากดวงอาทิตยเต็มที่ สภาวะอากาศจึงรอน
                       อบอาวทั่วไป ในฤดูนี้แมวาโดยทั่วไปจะมีอากาศรอนและแหงแลง   แตบางครั้งอาจมีมวลอากาศเย็น

                       จากประเทศจีนแผลงมาปกคลุมถึงประเทศไทยตอนบน ทําใหเกิดการปะทะกันของมวลอากาศเย็น

                       กับมวลอากาศรอนที่ปกคลุมอยูเหนือประเทศไทย ซึ่งกอใหเกิดพายุฝนฟาคะนองและลมกระโชกแรง
                       หรืออาจมีลูกเห็บตกกอใหเกิดความเสียหายได พายุฝนฟาคะนองที่เกิดขึ้นในฤดูนี้มักเรียก

                       อีกอยางหนึ่งวา พายุฤดูรอน






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจลิ้นจี่                                     สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23